ตัวบ่งชี้ที่ 6.2  การบริหารความเสี่ยงกลุ่มนวัตกรรมการศึกษาฯ

ตัวบ่งชี้ที่ 6.2  การบริหารความเสี่ยงกลุ่มนวัตกรรมการศึกษาฯ
ชนิดของตัวบ่งชี้ : กระบวนการ
เกณฑ์การประเมิน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
ครบถ้วน
1 ประเด็น
ครบถ้วน
2 ประเด็น
ครบถ้วน
3 ประเด็น
ครบถ้วน
4 ประเด็น
ครบถ้วน
5-6 ประเด็น

ผลการดำเนินงาน

[√]  1.  มีการแต่งตั้งคณะกรรมการหรือคณะทำงานบริหารความเสี่ยงภายใน โดยมีผู้บริหารและตัวแทนที่รับผิดชอบพันธกิจหลักของสำนักร่วมเป็นคณะกรรมการหรือคณะทำงาน

[√]  2.  มีการวิเคราะห์และระบุความเสี่ยง และปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเสี่ยง ตามบริบทของสำนักสอดคล้องสนองตอบต่อการบริหารความเสี่ยงของมหาวิทยาลัย

[√]  3.  มีการประเมินโอกาสและผลกระทบของความเสี่ยงและจัดลำดับความเสี่ยงที่ได้จากการวิเคราะห์ในข้อ 2

[√]  4.  มีการจัดทำแผนบริหารความเสี่ยงที่มีระดับความเสี่ยงสูง และดำเนินการตามแผน

[√]  5.  มีการติดตาม และประเมินผลการดำเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยง และรายงานต่อคณะกรรมการประจำสำนัก เพื่อพิจารณาอย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง

 

ค่าเป้าหมาย
(ข้อ)
12 เดือน
(1 ส.ค. 59-31 ก.ค. 60)
การบรรลุเป้าหมาย 12 เดือน
[  ] [  ] [√]
ผล คะแนน ต่ำกว่าเป้าหมาย เท่ากับเป้าหมาย สูงกว่าเป้าหมาย
3  5  5

ประเมินตนเอง/การบรรลุเป้าหมาย

รายการหลักฐาน

1. มีการแต่งตั้งคณะทำงานบริหารความเสี่ยงภายในของ สวส.

สวส.6.2.1  คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงภายในของ สวส.

2. มีการวิเคราะห์และระบุความเสี่ยง และปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเสี่ยง ตามบริบทของสำนักสอดคล้องสนองตอบต่อการบริหารความเสี่ยงของมหาวิทยาลัย

สวส.6.2.2  ความเสี่ยงเรื่อง การถ่ายทอดสดผ่าน Facebook Live

3. มีการประเมินโอกาสและผลกระทบของความเสี่ยงและจัดลำดับความเสี่ยงที่ได้จากการวิเคราะห์ในข้อ 2

สวส.6.2.3  แผนผังการประเมินโอกาสและผลกระทบของความเสี่ยงและจัดลำดับความเสี่ยง เรื่องการถ่ายทอดสดผ่าน Facebook Live

4. มีการจัดทำแผนบริหารความเสี่ยงที่มีระดับความเสี่ยงสูง และดำเนินการตามแผน

สวส.6.2.4  จัดทำแผนบริหารความเสี่ยง เรื่องการถ่ายทอดสดผ่าน Facebook Live

5. มีการติดตาม และประเมินผลการดำเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยง และรายงานต่อคณะกรรมการประจำสำนัก เพื่อพิจารณาอย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง

สวส.6.2.5  การติดตามและประเมินผลการดำเนินงานตามแผนความเสี่ยง เรื่องการถ่ายทอดสดผ่าน Facebook Live

จุดแข็ง

  1. การจัดทำแผนบริหารความเสี่ยง เพื่อเป็นแหล่งข้อมูลและเป็นการสร้างฐานข้อมูลความรู้ ที่มีประโยชน์ต่อการพัฒนาและปฏิบัติงานในหน่วยงาน
  2. ทำให้บุคลากรภายในหน่วยงาน มีความรู้ความเข้าใจถึงเป้าหมายและภารกิจหลักของหน่วยงาน

จุดที่ควรพัฒนา

  1. ควรมีการฝึกอบรมและชี้แจง ให้บุคลากรที่เกี่ยวข้องรับทราบถึงกระบวนการ
  2. สร้างความเข้าใจกับทุกคนให้ตระหนักถึงความส าคัญของการบริหารความเสี่ยงใน หน่วยงาน
 ผู้รับผิดชอบ ชื่อ ตำแหน่ง
ผู้กำกับตัวบ่งชี้ นายปฐมพงศ์ จำนงค์ลาภ หัวหน้างานวิจัยและพัฒนาสื่อการศึกษา
ผู้จัดเก็บข้อมูล/รายงาน น.ส. มัณฑนา ตุลยนิษกะ นักวิชาการช่างศิลป์ปฏิบัติการ