ข้อ 6.2 ปี 2560 ความเสี่ยงห้องสมุด

ตัวบ่งชี้ที่ 6.2  การบริหารความเสี่ยง
ชนิดของตัวบ่งชี้ : กระบวนการ
เกณฑ์การประเมิน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
ครบถ้วน
1 ประเด็น
ครบถ้วน
2 ประเด็น
ครบถ้วน
3 ประเด็น
ครบถ้วน
4 ประเด็น
ครบถ้วน
5-6 ประเด็น

เกณฑ์มาตรฐาน : ประเด็น

1. มีการแต่งตั้งคณะกรรมการหรือคณะทำงานบริหารความเสี่ยงภายใน โดยมีผู้บริหารและตัวแทนที่รับผิดชอบพันธกิจหลักของสำนักร่วมเป็นคณะกรรมการหรือคณะทำงาน
2. มีการวิเคราะห์และระบุความเสี่ยง และปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเสี่ยง ตามบริบทของสำนักสอดคล้องสนองตอบต่อการบริหารความเสี่ยงของมหาวิทยาลัย
3. มีการประเมินโอกาสและผลกระทบของความเสี่ยงและจัดลำดับความเสี่ยงที่ได้จากการวิเคราะห์ในข้อ 2
4. มีการจัดทำแผนบริหารความเสี่ยงที่มีระดับความเสี่ยงสูง และดำเนินการตามแผน
5. มีการติดตาม และประเมินผลการดำเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยง และรายงานต่อคณะกรรมการประจำสำนัก เพื่อพิจารณาอย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง
6. มีการนำผลการประเมิน และข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการประจำสำนักไปใช้ในการปรับแผนหรือวิเคราะห์ความเสี่ยงในรอบปีถัดไป

ประเมินตนเอง/การบรรลุเป้าหมาย

ค่าเป้าหมาย
(ข้อ)
12 เดือน
(1 มิ.ย. 60-31 พ.ค. 61)
การบรรลุเป้าหมาย 12 เดือน
[  ] [  ] [√]
ผล คะแนน ต่ำกว่าเป้าหมาย เท่ากับเป้าหมาย สูงกว่าเป้าหมาย
3  5  5

รายการหลักฐาน

1. มีการแต่งตั้งคณะทำงานบริหารความเสี่ยงภายในของ สวส.

6.2.1-1   คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงภายในของ สวส.

2. มีการวิเคราะห์และระบุความเสี่ยง และปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเสี่ยง ตามบริบทของสำนักสอดคล้องสนองตอบต่อการบริหารความเสี่ยงของมหาวิทยาลัย

6.2.2-2   ความเสี่ยงเรื่องการขอยืมข้ามห้องสมุดสาขา

3. มีการประเมินโอกาสและผลกระทบของความเสี่ยงและจัดลำดับความเสี่ยงที่ได้จากการวิเคราะห์ในข้อ 2

6.2.3-3  แผนผังการประเมินโอกาสและผลกระทบของความเสี่ยงและจัดลำดับความเสี่ยงงานขอยืมข้ามห้องสมุดสาขา

4.   มีการจัดทำแผนบริหารความเสี่ยงที่มีระดับความเสี่ยงสูง และดำเนินการตามแผน

6.2.4-4   การจัดทำแผนบริหารความเสี่ยง เรื่องการขอยืมข้ามห้องสมุดสาขา

5. มีการติดตาม และประเมินผลการดำเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยง และรายงานต่อคณะกรรมการประจำสำนัก เพื่อพิจารณาอย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง

6.2.5-5   การติดตาม และประเมินผลการดำเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยง เรื่องการขอยืมข้ามห้องสมุดสาขา
6.2.5-6   สถิติการขอยืมข้ามห้องสมุดสาขา

จุดแข็ง

  1. การให้บริการยืมข้ามห้องสมุดสาขาเป็นการอำนวยความสะดวกแก่ผู้ใช้บริการมากยิ่งขึ้น
  2. ทรัพยากรห้องสมุดแต่ละสาขาสามารถยืมใช้ร่วมกันได้อย่างคุ้มค่า

จุดที่ควรพัฒนา

  1. ประชาสัมพันธ์ให้ผู้ใช้บริการห้องสมุด ขอยืมข้ามห้องสมุดสาขามากยิ่งขึ้น
  2. ห้องสมุดจำเป็นต้องใช้ทรัพยากรเพื่อให้เกิดคุ้มค่ามากที่สุด
  3. การดำเนินการจัดส่งทรัพยากรข้ามห้องสมุดสาขายังไม่สะดวก

 ผู้รับผิดชอบ

ชื่อ

ตำแหน่ง

ผู้กำกับตัวบ่งชี้ นางสายธาร  สุเมธอธิคม บรรณารักษ์ชำนาญการพิเศษ
ผู้จัดเก็บข้อมูล/รายงาน นางบัวระภา  กลยนีย์

นายธีรพัฒน์  จำลองพิมพ์

บรรณารักษ์

นักเอกสารสนเทศ