2563 iqa 5.1

องค์ประกอบที่ 5 ภารกิจหลักการบริหารจัดการสำนักงานผู้อำนวยการ

ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 Digital Academic ร้อยละของบุคลากรของสำนักที่ได้รับการพัฒนาทักษะด้านเทคโนโลยีดิจิทัล

ชนิดของตัวบ่งชี้ : ผลผลิต

เกณฑ์การประเมิน : คะแนน

คำอธิบายตัวบ่งชี้ :

ร้อยละของบุคลากรของสำนักวิทยบริการฯ ที่ได้รับการพัฒนาทักษะด้านเทคโนโลยีดิจิทัล เมื่อเทียบกับแผนการพัฒนาบุคลากรทักษะด้านเทคโนโลยีดิจิทัล

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5

≥ 10%

≥ 20% ≥ 30% ≥ 40%

≥ 50%

 

ผลการดำเนินงาน : 

  1. การจัดทำแผนการพัฒนาทักษะด้านเทคโนโลยีดิจิทัล
  2. ผลการดำเนินงานที่ได้จากการพัฒนาทักษะด้านเทคโนโลยีดิจิทัลของบุคลากร คิดเป็นร้อยละ
  3. รายงานการพัฒนาทักษะด้านเทคโนโลยีดิจิทัลของบุคลากรหลังการอบรม
  4. รายงานและติดตามผลหลังจากการพัฒนาทักษะด้านเทคโนโลยีดิจิทัลไปใช้ประโยชน์ หลัง 6 เดือน
  5. ประเมินผลความสำเร็จของการพัฒนาเทคโนโลยีด้านดิจิทัล หลังจากการพัฒนาเสร็จสิ้น
  6. นำผลการประเมินไปปรับปรุงพัฒนาบุคลากรต่อไป

ประเมินตนเอง/การบรรลุเป้าหมาย

ค่าเป้าหมาย
(ประเด็น)
12 เดือน
(1 มิ.ย. 63 – 31 พ.ค. 64)
การบรรลุเป้าหมาย 12 เดือน
[  ] [  ] [√]
ผล คะแนน ต่ำกว่าเป้าหมาย เท่ากับเป้าหมาย สูงกว่าเป้าหมาย
≥ 30 %  53.33 4

 

รายการหลักฐาน

รหัสหลักฐาน รายการ
สวส. 5.1-1

แผนการพัฒนาทักษะของบุคลากร

5.1-1-1 แผนการพัฒนาบุคลากร ประจำปีงบประมาณ 2564
5.1-1-2 แผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล สวส

สวส. 5.1-2

ผลการดำเนินงานที่ได้จากการพัฒนาทักษะสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1-2-1 ผลการดำเนินงาน
5.1-2-2 รายงานการอบรมดิจิทัล (1 มิ.ย.63-31 พ.ค.64)

สวส. 5.1-3

รายงานการพัฒนาทักษะของบุคลากรสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1-3 แบบรายงานการฝึกอบรม

สวส.5.1.4

รายงานผลและติดตามผลหลังการฝึกอบรมสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1-4 แบบติดตามหลังฝึกอบรม

สวส.5.1.5

ผลความสำเร็จและประเมินผลสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1-5 ผลการติดตามความสำเร็จการพัฒนาบุคลากร ประจำปีงบประมาณ 2564

สวส.5.1.6

นำผลที่ได้จากการประเมินผลไปปรับปรุงและพัฒนา
5.1-6 การนำผลการประเมินไปปรับปรุงแผนพัฒนาบุคลากร

 

จุดเด่น
1. บุคลากรของสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นผู้มีความรู้ ความสามารถ ทักษะสมรรถนะ ในด้านเทคโนโลยีจนเป็นที่ยอมรับของมหาวิทยาลัย
2. บุคลากรมีความมุ่งมั่นที่จะเพิ่มพูนความรู้ และทักษะในด้านเทคโนโลยีเพื่อให้เท่าทันต่อการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี
3. บุคลากรทุกสายงานพร้อมปฏิบัติงานให้เชื่อมโยงต่อกันเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและผลสำเร็จของหน่วยงาน
จุดที่ควรพัฒนา
1. การพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยี จำเป็นต้องส่งบุคลากรเข้ารบการเพิ่มพูนทักษะและสมรรถนะ ในบางครั้งต้องประสบปัญหาด้านงบประมาณ
2. การพิจารณาส่งเสริมให้บุคลากรได้รับการพัฒนานั้น ต้องพิจารณาให้รอบด้านและทั่วถึง โดยคำนึงถึงผลสัมฤทธิ์ที่จะได้รับให้ชัดเจน
3. บุคลากรที่ได้รับการพัฒนาต้องแสดงให้เห็นถึงความรู้ความสามารถทักษะ ที่ได้รับจากการพัฒนาให้เป็นรูปธรรม

 

ผู้รับผิดชอบ ชื่อ ตำแหน่ง
ผู้กำกับตัวบ่งชี้ น.ส.อ้อยจริยา  พลับจีน
นางสุกัญญา  พิสิฐอมรชัย
หัวหน้า สำนักงานผู้อำนวยการหัวหน้างานบริหารทั่วไป
ผู้จัดเก็บข้อมูล/รายงาน นางสาวรัชนี   ต่อเงิน เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป