ตัวบ่งชี้ที่ 6.2 การบริหารความเสี่ยง
ชนิดของตัวบ่งชี้ : กระบวนการ
เกณฑ์การประเมิน :
คะแนน 1 | คะแนน 2 | คะแนน 3 | คะแนน 4 | คะแนน 5 |
มีการดำเนินงาน 1 ข้อ | มีการดำเนินงาน 2 ข้อ | มีการดำเนินงาน 3 ข้อ | มีการดำเนินงาน 4 ข้อ | มีการดำเนินงาน 5 ข้อ |
เกณฑ์มาตรฐาน :
1.มีการแต่งตั้งคณะกรรมการหรือคณะทำงานบริหารความเสี่ยงภายใน โดยมีผู้บริหารและตัวแทนที่รับผิดชอบพันธกิจหลักของสำนักร่วมเป็นคณะกรรมการหรือคณะทำงาน
2. มีการวิเคราะห์ความเสี่ยง ระบุความเสี่ยง ปัจจัยก่อให้เกิดความเสี่ยง ตามบริบทของสำนักสอดคล้องสนองตอบต่อการบริหารความเสี่ยง
3.มีการประเมินความเสี่ยง โอกาสและผลกระทบโดยสำนักมีการประเมินโอกาสและผลกระทบของความเสี่ยง
4. มีการนำแผนบริหารความเสี่ยงที่มีระดับความเสี่ยง มาบริหารจัดการความเสี่ยง และดำเนินการตามแผนสูง
5. มีการติดตาม และประเมินผลการดำเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยง และรายงานต่อผู้บริหาร ปีละ 2 ครั้ง
ผลการดำเนินงาน :
1.มีการแต่งตั้งคณะกรรมการหรือคณะทำงานบริหารความเสี่ยงภายใน โดยมีผู้บริหารและตัวแทนที่รับผิดชอบพันธกิจหลักของสำนักร่วมเป็นคณะกรรมการหรือคณะทำงาน
สำนักมีการแต่งตั้งคณะทำงานบริหารความเสี่ยงและการวางระบบควบคุมภายใน โดยมีผู้บริหาร หัวหน้ากลุ่ม และหัวหน้างานร่วมเป็นคณะกรรมการ
2. มีการวิเคราะห์ความเสี่ยง ระบุความเสี่ยง ปัจจัยก่อให้เกิดความเสี่ยง ตามบริบทของสำนักสอดคล้องสนองตอบต่อการบริหารความเสี่ยงฃองมหาวิทยาลัย
มีการวิเคราะห์และระบุปัจจัยความเสี่ยงที่กระทบต่อการบริหารจัดการของสำนักและมีความสอดคล้องกับบริบทความเสี่ยงของมหาวิทยาลัย
3.มีการประเมินความเสี่ยง โอกาสและผลกระทบของความเสี่ยงและจัดลำดับความเสี่ยง
มีการนำปัจจัยเสี่ยงมาประเมินระดับโอกาสและระดับความรุนแรงของผลกระทบความเสี่ยง เพื่อจัดลำดับความเสี่ยงที่มีระดับสูง
4. มีการนำแผนบริหารความเสี่ยงที่มีระดับความเสี่ยงสูง มาบริหารจัดการความเสี่ยง และดำเนินการตามแผน
มีการจัดทำแผนบริหารจัดการความเสี่ยงที่มีระดับสูง
5. มีการติดตามผลการดำเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยง และรายงานต่อผู้บริหาร ปีละ 2 ครั้ง
มีการติดตามผลการดำเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยงและรายงานต่อผู้บริหารและมหาวิทยาลัยทุกรอบ 6 เดือน
ค่าเป้าหมาย (ข้อ) | 12 เดือน (1 มิ.ย. 64-31 พ.ค. 65) | การบรรลุเป้าหมาย 12 เดือน | |||
[ ] | [ ] | [√] | |||
ผล | คะแนน | ต่ำกว่าเป้าหมาย | เท่ากับเป้าหมาย | สูงกว่าเป้าหมาย | |
3 | 5 | 5 |
รายการหลักฐาน
1. มีการแต่งตั้งคณะกรรมการหรือคณะทำงานบริหารความเสี่ยงภายใน โดยมีผู้บริหารและตัวแทนที่รับผิดชอบพันธกิจหลักของสำนักร่วมเป็นคณะกรรมการหรือคณะทำงาน
สวส.6.2.1-1 คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงภายในของ สวส.
2. มีการวิเคราะห์ความเสี่ยง ระบุความเสี่ยง ปัจจัยก่อให้เกิดความเสี่ยง ตามบริบทของสำนักสอดคล้องสนองตอบต่อการบริหารความเสี่ยงฃองมหาวิทยาลัย
สวส 6.2.2.1 วิเคราะห์ความเสี่ยงกลุ่มเครือข่าย- 2565
สวส.6.2.2.2. วิเคราะห์ความเสี่ยงกลุ่มเทคโนโลยีสารสนเทศ
สวส.6.2.2.3 วิเคราะห์ความเสี่ยงกลุ่มวิทยบริการ
สวส.6.2.2.4 วิเคราะห์ความเสี่ยง- 2565 – กลุ่มนวัตกรรม.
สวส.6.2.2.5 วิเคร่าะห์ความเสี่ยง-สำนักงานผู้อำนวยการ
3. มีการประเมินความเสี่ยง โอกาสและผลกระทบของความเสี่ยงและจัดลำดับความเสี่ยง
สวส. 6.2.3.1 เกณฑ์ประเมินความเสี่ยง
สวส 6.2.3.2.แผนผังประเมินโอกาส ผลกระทบ และจัดลำดับความเสี่ยง – เครือข่าย –
สวส.6.2.3.3.แผนผังประเมินโอกาส ผลกระทบ และจัดลำดับความเสี่ยง -สารสนเทศ
สวส.6.2.3.4 แผนผังประเมินโอกาส ผลกระทบ และจัดลำดับความเสี่ยง -กลุ่มวิทยบริการ
สวส 6.2.3.5 แผนผังประเมินโอกาส ผลกระทบ และจัดลำดับความเสี่ยง -สอ
สวส.6.2.3.6 แผนผังประเมินโอกาส ผลกระทบ และจัดลำดับความเสี่ยง -กลุ่มพัฒนานวัตกรรม
4. มีการนำแผนบริหารความเสี่ยงที่มีระดับความเสี่ยงสูง มาบริหารจัดการความเสี่ยง และดำเนินการตามแผน
สวส.6.2.4.1 แผนและการบริหารความเสี่ยง-สูง
5. มีการติดตามผลการดำเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยง และรายงานต่อผู้บริหาร ปีละ 2 ครั้ง
สวส.6.2.5.1 รายงานผล 2564
สวส.6.2.5.2 รายงานผลกลุ่มวิทยบริการ1-2565
สวส.6.2.5.3 รายงานผลกลุ่มซอฟต์แวร์ 1-2565
สวส.6.2.5.4 รายงานผลกลุ่มเครือข่าย-1-2565
สวส.6.2.5.5 รายงานผลสำนักงานผู้อำนวยการ-1-2565
จุดเด่น
- มีการจัดทำแผนความเสี่ยงที่สอดคล้องกับภารกิจหลักของหน่วยงาน
จุดที่ควรพัฒนา
- การบริหารและจัดการความเสี่ยงยังมีบางส่วนไม่สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน
- ควรมีการทบทวนแผนและการบริหารจัดการความเสี่ยง
ผู้รับผิดชอบ |
ชื่อ |
ตำแหน่ง |
ผู้กำกับตัวบ่งชี้ | นางสุกัญญา พิสิฐอมรชัย นางสาวอ้อยจริยา พลับจีน | หัวหน้างานบริหารทั่วไป หัวหน้าสำนักงานผู้อำนวยการ |
ผู้เก็บรวบรวมข้อมูล | นางอุมาพร สรวลสรรค์ นางสาวชนนิกานต์ สมจิตต์ | เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไปชำนาญการ เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป |