2563 iqa 6.2

ตัวบ่งชี้ที่ 6.2  การบริหารความเสี่ยง ชนิดของตัวบ่งชี้ : กระบวนการ เกณฑ์การประเมิน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินงาน 1 ข้อ มีการดำเนินงาน 2 ข้อ มีการดำเนินงาน 3 ข้อ มีการดำเนินงาน 4 ข้อ มีการดำเนินงาน 5 ข้อ

ผลการดำเนินงาน

[√] 1.มีการแต่งตั้งคณะกรรมการหรือคณะทำงานบริหารความเสี่ยงภายใน โดยมีผู้บริหารและตัวแทนที่รับผิดชอบพันธกิจหลักของสำนักร่วมเป็นคณะกรรมการหรือคณะทำงาน

โดยสำนักวิทยบริการฯ มีการแต่งตั้งคณะทำงานบริหารความเสี่ยงภายใน มีหัวหน้ากลุ่มงาน เป็นคณะกรรมการทำงาน มีการวิเคราะห์และระบุความเสี่ยง และปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเสี่ยง ตามบริบทของสำนักสอดคล้องสนองตอบต่อการบริหารความเสี่ยงของมหาวิทยาลัย
[√] 2. มีการบ่งชี้ปัจจัยเสี่ยง และประเด็นความเสี่ยงกระบวนการหลักด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ

 มีการบ่งชี่ความเสี่ยงและกระบวนการทำงานหลักและมีการระบุ กระบวนการทำงานย่อย

[√] 3. มีการประเมินความเสี่ยงโอกาส และผลกระทบ

มีการประเมินความเสี่ยงโดยพิจารณาจากปัจจัยต่าง  ๆ  เช่น บริบทภายนอกภายใน โอกาส ความเสี่ยง  และประเมินระดับความเสี่ยงของกระบวนการทำงานหลัก

[√] 4. มีการจัดลำดับความเสี่ยง

มีการสรุปประเด็นความเสี่ยงที่ทำการบ่งชี้ ประเมิน และจัดลำดับความเสี่ยงของกระบวนการทำงานหลัก

[√] 5.มีการมาตรการจัดการและบริหารความเสี่ยง

         มีการจัดทำแผนความเสี่ยงและการบริหารจัดการความเสี่ยงในกระบวนงานหลักและกระบวนงานย่อย

         โดยกำหนดระยะเวลาดำเนินการและผู้รับผิดชอบ

ค่าเป้าหมาย (ข้อ) 12 เดือน (1 มิ.ย. 63-31 พ.ค. 64) การบรรลุเป้าหมาย 12 เดือน
[ ] [ ] [√]
ผล คะแนน ต่ำกว่าเป้าหมาย เท่ากับเป้าหมาย สูงกว่าเป้าหมาย
3 5 5

รายการหลักฐาน

1. มีการแต่งตั้งคณะกรรมการหรือคณะทำงานบริหารความเสี่ยงภายใน โดยมีผู้บริหารและตัวแทนที่รับผิดชอบพันธกิจหลักของสำนักร่วมเป็นคณะกรรมการหรือคณะทำงาน

สวส.6.2.1-1  คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงภายในของ สวส.

2. มีการบ่งชี้ปัจจัยเสี่ยง และประเด็นความเสี่ยงกระบวนการหลักด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ

สวส.6.2.2-2  การบ่งชี้ปัจจัยเสี่ยง และประเด็นความเสี่ยงกระบวนการหลัก

3. มีการประเมินความเสี่ยงโอกาส และผลกระทบ

สวส.6.2.3-3  เกณฑ์การประเมินความเสี่ยง 
สวส.6.2.3-4 การระบุประเด็นปัญหาประเมินความเสี่ยงโอกาส และผลกระทบ

4. มีการจัดลำดับความเสี่ยง

สวส.6.2.4-5  สรุปประเด็นความเสี่ยง ผลการประเมิน และระดับความเสี่ยงในกระบวนงานหลัก

5. มีการจัดการความเสี่ยง และบริหารความเสี่ยง ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลาดำเนินงาน  และแผนจัดการความเสี่ยง

สวส.6.2.5-6   แผนการจัดการความเสี่ยง
สวส.6.2.5-7 การจัดการและการบริหารความเสี่ยง

จุดเด่น

  • มีการจัดทำแผนความเสี่ยงที่สอดคล้องกับภารกิจหลักของหน่วยงาน

จุดที่ควรพัฒนา

  • การบริหารและจัดการความเสี่ยงยังมีบางส่วนไม่สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน
  • ควรมีการทบทวนแผนและการบริหารจัดการความเสี่ยง

 ผู้รับผิดชอบ

ชื่อ

ตำแหน่ง

ผู้กำกับตัวบ่งชี้

นางสุกัญญา   พิสิฐอมรชัย

นางสาวอ้อยจริยา พลับจีน

หัวหน้างานบริหารทั่วไป

หัวหน้าสำนักงานผู้อำนวยการ

ผู้เก็บรวบรวมข้อมูล

นางอุมาพร สรวลสรรค์

นางสาวชนนิกานต์  สมจิตต์

เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไปชำนาญการ

เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป