IQA 2561

เล่มคู่มือการประกันคุณภาพภายในระดับหน่วยงาน ปีการศึกษา 2561

นโยบาย/ตัวบ่งชี้เฉพาะ
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ปีการศึกษา 2561 (มิย.61 – พค.62)
ค่าน้ำหนัก (ร้อยละ) ค่าเป้าหมาย
สำนักงานผู้อำนวยการ
กลุ่มเทคโนโลยีสารสนเทศ กลุ่มเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสาร กลุ่มวิทยบริการ กลุ่มนวัตกรรมการศึกษาฯ
องค์ประกอบที่ 1 ภาระกิจหลักการพัฒนาระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสาร              
1.1 ระดับความสำเร็จในการให้บริการระบบเครือข่ายไร้สายในพื้นที่แนวราบให้ครอบคลุมพื้นที่บริการ 4.5 3 ข้อ    
√5
   
1.2 ระดับความสำเร็จในการให้บริการของจุดให้บริการระบบเครือข่ายแบบมีสายให้ครอบคลุมพื้นที่บริการ 4.5

3 ข้อ

   
√4
 
       
1.3 ระดับความสำเร็จในการพัฒนาการให้บริการเครื่องคอมพิวเตอร์และเครือข่ายอินเตอร์เน็ตภายในศูนย์การเรียนรู้ด้วยตนเอง 4.5 3 ข้อ    
√5
   
1.4 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้   4.5 3 ข้อ

   
√5
   
รวมองค์ประกอบที่ 1 18      
4.75
   
องค์ประกอบที่ 2 ภาระกิจหลักการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ              
2.1 ร้อยละความสำเร็จในการพัฒนา/ปรับปรุงประสิทธิภาพระบบสารสนเทศ มทร.พระนคร เมื่อเทียบกับแผนจำแนกเป็นการพัฒนาเว็ปแอพพลิเคชั่นใหม่, การพัฒนาโมบายแอพพลิเคชั่นใหม่ และการปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพเว็บแอพพลิเคชั่นและโมบายแอพพลิเคชั่น 6 ร้อยละ 91-95  
√5
     
2.2 ระดับความสำเร็จในการพัฒนานโยบายแนวปฏิบัติการรักษาความมั่นคงปลอดภัยระบบสารสนเทศ มทร.พระนคร 6 3 ข้อ  
√5
     
2.3 ระดับความสำเร็จในการพัฒนาระบบ E-Service เพื่อรับการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของมทร.พระนคร 6 3 ข้อ  
√5
     
รวมองค์ประกอบที่ 2 18    
5
     
องค์ประกอบที่ 3 ภาระกิจหลักงานการให้บริการทรัพยากรสารสนเทศ              
3.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ด้านการให้บริการทรัพยากรสารสนเทศ 6 3 ข้อ      
√6
 
3.2 ระดับความสำเร็จของจำนวนผู้เข้าใช้ฐานข้อมูลหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Book) 6

6,001-9,000 ครั้ง

     
√4
 
3.3 ระดับความสำเร็จการให้บริการห้องสมุดเพื่อรับการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของ มทร.พระนคร 6 3 ข้อ      
√5
 
รวมองค์ประกอบที่ 3 18        
4.67
 
องค์ประกอบที่ 4 ภาระกิจหลักการพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษ              
4.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ด้านการผลิตและเผยแพร่สื่อมัลติมีเดียเพื่อการศึกษา มทร.พระนคร 4.5 3 ข้อ        
√5
4.2 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ด้านการเรียนการสอนผ่านระบบ LMS 4.5 3 ข้อ        
√5
4.3 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ด้านการผลิตสื่อการเรียนการสอนออนไลน์แบบเปิด Mooc 4.5 3 ข้อ        
√5
4.4 การผลิตสื่อกิจกรรมและให้บริการโสตทัศนูปกรณ์ตามภารกิจของมหาวิทยาลัย 4.5 3 ข้อ        
√5
รวมองค์ประกอบที่ 4 18          
5.00
องค์ประกอบที่ 5 ภาระกิจหลักการบริหารจัดการสำนักงานผู้อำนวยการ              
5.1 การพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุน 6 3 ข้อ
√5
       
5.2 การบริหารจัดการทรัพย์สินเพื่อหารายได้ 6 3 ข้อ
√5
       
5.3 การสร้างสภาวะแวดล้อมที่ดีและมีความปลอดภัยในสำนักวิทยบริการฯ 6 3 ข้อ
√5
       
รวมองค์ประกอบที่ 5 18  
5.00
       
องค์ประกอบที่ 6 การกำกับติดตาม              
6.1 กระบวนการพัฒนาแผน 2.5 3 ข้อ
√5
       
6.2 การบริหารความเสี่ยง 2.5 3 ข้อ        
√5
6.3 การพัฒนาสถาบันสู่สถาบันแห่งการเรียนรู้ 2.5 3 ข้อ      
√5
 
6.4 ระบบและกลไลการประกันคุณภาพภายใน 2.5 3 ข้อ  
√5
     
เฉลี่ยองค์ประกอบที่ 6 10  
5.00
       
รวมทุกองค์ประกอบ 100
4.90
         

ตัวชี้วัดตามแผนยุทธศาสตร์ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ปีการศึกษา 2561

 

ตัวบ่งชี้

สำนักงานผู้อำนวยการกลุ่มเครือข่ายคอมพิวเตอร์ฯกลุ่มเทคโนโลยีสารสนเทศกลุ่มพัฒนานวัตกรรมกลุ่มวิทยบริการ

 
ค่าเป้าหมาย
ร้อยละของนักศึกษาที่สอบผ่านเกณฑ์ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของมหาวิทยาลัย (ตัวชี้วัด ม.)     80%    
ร้อยละความสำเร็จในการพัฒนาและปรับปรุงระบบสารสนเทศเพื่อการบูรณาการตามพันธกิจ (ตัวชี้วัด ม.)     80%    
ร้อยละความสำเร็จในการพัฒนาและปรับปรุงระบบสารสนเทศเพื่อการบูรณาการตามพันธกิจ (ด้านศิลปวัฒนธรรม)     80%    
ร้อยละความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อสภาวะแวดล้อมในการเรียนรู้ (ตัวชี้วัด ม.)   40%   40% 40%
จำนวนสื่อเพื่อการศึกษา         30 ตอน
จำนวนการเข้าใช้ระบบการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ (LMS)         3,000 ครั้ง
จำนวนรายวิชาที่ใช้ในการเรียนการสอนออนไลน์ (MOOC)         1 วิชา
ร้อยละความสำเร็จในการพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัล (ตัวชี้วัด ม.)   85%      
สถิติ downtime ของระบบกล้องวงจรปิด   น้อยกว่า10 ครั้ง/ปี      
สถิติการใช้งานโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัล   550 Mbps      
จำนวนอัตราการใช้บริการศูนย์การเรียนรู้ Learning Center ทั้ง 4 ศูนย์   50,000 ครั้ง      
ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาทักษะความรู้ความสามารถด้านวิชาชีพตามสายงาน 75%        
จำนวนอัตราการเข้าใช้บริการศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ทางเทคโนโลยีการศึกษาเพื่อเศรษฐกิจดิจิทัล 100 คน