ตัวบ่งชี้ที่ 1.2 : ระดับความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพการให้บริการอุปกรณ์เครื่องแม่ข่าย
ชนิดของตัวบ่งชี้ : กระบวนการ
คำอธิบายตัวบ่งชี้ ระดับความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพการให้บริการอุปกรณ์เครื่องแม่ข่าย ให้รองรับการบริการ และปริมาณการเพิ่มขึ้นของข้อมูล เพื่อสนับสนุนการเรียนการสอน การวิจัยและบริการวิชาการ
เกณฑ์การประเมิน
คะแนน 1 |
คะแนน 2 | คะแนน 3 | คะแนน 4 | คะแนน 5 |
มีการดำเนินการ 1 ข้อ |
มีการดำเนินการ 2 ข้อ | มีการดำเนินการ 3 ข้อ | มีการดำเนินการ 4 ข้อ | มีการดำเนินการ 5 ข้อ |
เกณฑ์มาตรฐาน : ข้อ
ผลการดำเนินงาน : ในปีการศึกษา 2559 มีผลการดำเนินงาน ดังนี้
[√] 2. มีการดำเนินการแต่งตั้งคณะกรรมการเพื่อตรวจสอบติดตามคุณภาพการให้บริการระบบเครื่องแม่ข่ายคอมพิวเตอร์คลัสเตอร์โดยกลุ่มเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารมีแผนประจำปีของกลุ่มตามที่ได้รับมอบหมายจากมหาวิทยาลัย และ ได้ดำเนินตามแผนการปฏิบัติงานตามกรอบที่ได้กำหนดไว้ในแต่ละปีการศึกษาอย่างชัดเจน
[√] 3. มีการดำเนินงานตามแผนโดยมีการตรวจสอบ ตรวจวัด คุณภาพเครื่องคอมพิวเตอร์คลัสเตอร์ และคุณภาพของการให้บริการของเครื่องคอมพิวเตอร์คลัสเตอร์ ตามแผนที่กำหนดโดยการแต่งตั้งบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถเกี่ยวข้องกับระบบให้บริการเครื่องแม่ข่ายคอมพิวเตอร์คลัสเตอร์เพื่อตรวจสอบ ติดตามคุณภาพการให้บริการของระบบอย่างสม่ าเสมอ
[√] 4. สามารถย้ายบริการบนเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายขึ้นไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์คลัสเตอร์แม่ข่ายใหม่ที่ใช้เทคโนโลยีเสมือน (Visualization) ที่มีประสิทธิภาพสูงกว่า ไม่น้อยกว่า 90%มีการดำเนินการตรวจสอบ ตรวจวัดคุณภาพและความพร้อมให้บริการของเครื่องคอมพิวเตอร์คลัสเตอร์ โดยการตรวจสอบการทำางานของระบบบริการ ตรวจสอบคุณภาพของเครื่องแม่ข่าย และระบบการจัดเก็บข้อมูล โดยการสร้างเวปไซด์ที่ใช้ในการตรวจสอบติดตาม
[√] 5. มีการจัดตั้งไซต์สำรองเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายพิกัดฉุกเฉิน โดยใช้เทคโนโลยีเสมือนโดยมีการดำเนินการย้ายระบบบริการที่ทำงานบนเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายแบบ 1 เครื่องต่อ 1 บริการมาทำงานบนเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายแบบคลัสเตอร์ที่ใช้เทคโนโลยีเสมือน (Visualization) ทั้งหมด 92 บริการ คงเหลือบริการที่ยังทำงานบนเครื่องแม่ข่ายแบบเดี่ยว อยู่ 6 บริการ คิดเป็นร้อยละ 90.16 ของบริการ
โดยมีการดำเนินการพัฒนาระบบศูนย์ข้อมูลสำรองพิกัดฉุกเฉิน ขั้นที่ศูนย์พระนครเหนือ โดยใช้เทคโนโลยีเฟลโอ เวอร์คลัสเตอร์ เพื่อใช้ในกรณีศูนย์ข้อมูลหลัก เกิดความเสียหาย เพื่อยังคงให้มีระบบบริการที่สำคัญยังคงสามารถ ทำงานได้อย่างต่อเนื่อง
ประเมินตนเอง/การบรรลุเป้าหมาย
ค่าเป้าหมาย (ข้อ) |
12 เดือน (1 มิ.ย. 60-31 พ.ค. 61) |
การบรรลุเป้าหมาย 12 เดือน | |||
[ ] | [ ] | [√] | |||
ผล | คะแนน | ต่ำกว่าเป้าหมาย | เท่ากับเป้าหมาย | สูงกว่าเป้าหมาย | |
3 | 5 | 5 |
รายการหลักฐาน
1. มีแผนในการพัฒนาคุณภาพการให้บริการอุปกรณ์เครื่องแม่ข่าย และห้องปฏิบัติการระบบเครือข่าย
สวส.1.2.1-1 แผนกลยุทธ์สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
2. มีการดำเนินงานตามแผนโดยมีการตรวจสอบ ตรวจวัด คุณภาพเครื่องคอมพิวเตอร์คลัสเตอร์ และคุณภาพของการให้บริการของเครื่องคอมพิวเตอร์คลัสเตอร์ ตามแผนที่กำหนด
สวส.1.2.2-2 คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบติดตามการให้บริการเครื่องคอมพิวเตอร์คลัสเตอร์
3. สามารถย้ายบริการบนเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายขึ้นไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์คลัสเตอร์แม่ข่ายใหม่ที่ใช้เทคโนโลยีเสมือน (Visualization) ที่มีประสิทธิภาพสูงกว่า ไม่น้อยกว่า 90%
4. มีการจัดตั้งไซต์สำรองเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายพิกัดฉุกเฉิน โดยใช้เทคโนโลยีเสมือน
สวส.1.2.4-4 การจัดตั้งไซต์สำรองเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายพิกัดฉุกเฉิน โดยใช้เทคโนโลยีเสมือน
5. ความพร้อมของเครื่องแม่ข่ายเสมือนที่รองรับการย้ายบริการมาทำงานบนระบบ และจำนวนของระบบบริการที่ทำงานอยู่บนระบบเครื่องแม่ข่ายเสมือนในปัจจุบัน
จุดแข็ง
- มีการใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยในการบริหารจัดการเครื่องแม่ข่ายและระบบบริการบนเครื่องแม่ข่าย
- มีการพัฒนาระบบศูนย์ข้อมูลสำรองในกรณีฉุกเฉินเมื่อเกิดเหตุภัยพิบัติเพื่อให้มีระบบให้บริการได้อย่างต่อเนื่องไม่ติดขัด
จุดที่ควรพัฒนา
- การทำเอกสารหรือคู่มือในการทำงานยังมีน้อยและไม่ได้รับการถ่ายทอดออกมาจากผู้ปฏิบัติงาน
ผู้รับผิดชอบ | ชื่อ |
ตำแหน่ง |
ผู้กำกับตัวบ่งชี้ | นายเชาวลิต สมบูรณ์พัฒนากิจ | รองผู้อำนวยการสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ |
ผู้จัดเก็บข้อมูล/รายงาน | นายสรศิษฏ์ พุ่มฉัตร | นักวิชาการคอมพิวเตอร์ |