2555 IQA 5.2

องค์ประกอบที่ 5 ภารกิจหลักด้านการพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา
ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาระบบ  VDO On Demand เพื่อการเรียนการสอนและวิชาชีพ
ชนิดของตัวบ่งชี้ : ผลผลิต
เกณฑ์การประเมิน
คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการครบ
1 ประเด็น
มีการดำเนินการครบ
2 ประเด็น
มีการดำเนินการครบ
3 ประเด็น
มีการดำเนินการครบ
4 ประเด็น
มีการดำเนินการครบ
5 ประเด็น

เกณฑ์มาตรฐาน : ประเด็น

ผลการดำเนินงาน : ในปีการศึกษา 2555 มีผลการดำเนินงาน 5 ประเด็น ดังนี้ ( ขีด √ หน้าข้อที่มีผลการดำเนินงาน)

[√] 1. จำนวนเนื้อหาวิชา VDO On Demand เพื่อการเรียนการสอนในหลักสูตรของมหาวิทยาลัย ที่ผลิตใหม่ประจำปีการศึกษา 2555 ไม่น้อยกว่า 20 วิชา
โดย กลุ่มงานพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา ได้ดำเนินการผลิตเนื้อหารายวิชา Video On Demand เพื่อการเรียนการสอนในหลักสูตรของมหาวิทยาลัย เสร็จสมบูรณ์ในปีการศึกษา 2555  ทั้งสิ้นจำนวน 20 วิชา 247 ตอน แบ่งได้ดังนี้
  1. ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวน 12 รายวิชา 135 ตอน
  2. ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวน 8 รายวิชา 112 ตอน
[√] 2. จำนวนเนื้อหา VDO On Demand หลักสูตรวิชาชีพ (บริการวิชาการแก่สังคม) ที่ผลิตใหม่แล้วเสร็จประจำปีการศึกษา 2555 ไม่น้อยกว่า 180 ตอน
โดย กลุ่มงานพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา ได้ดำเนินการผลิตเนื้อหาVideo On Demand หลักสูตรวิชาชีพ (บริการวิชาการแก่สังคม) เสร็จสมบูรณ์ในปีการศึกษา 2555  ทั้งสิ้นจำนวน 15 วิชา 190 ตอน แบ่งได้ดังนี้
  1. ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวน 9 รายวิชา 103 ตอน
  2. ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวน 6 รายวิชา 87 ตอน
[√] 3. จำนวนครั้งของการเข้าใช้ VDO On Demand เพื่อการเรียนการสอนในหลักสูตรประจำปีการศึกษา 2555 ไม่น้อยกว่า 130,000 ครั้ง
โดย จำนวนครั้งของการเข้าใช้ Video On Demand เพื่อการเรียนการสอนในหลักสูตรประจำปีการศึกษา 2555 จำนวนทั้งสิ้น 133,713 ครั้ง

[√] 4. มีการสำรวจความพึงพอผู้ใช้ระบบ VDO On Demand เพื่อการเรียนการสอนในชั้นเรียนในปีการศึกษา 2555 มีค่าเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 4.00
โดย การสำรวจความพึงพอผู้ใช้ระบบ VDO On Demand เพื่อการเรียนการสอนในชั้นเรียนในปีการศึกษา 2555 มีค่าเฉลี่ยดังนี้
  1. ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจอยู่ในระดับ 4.36
  2. ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจอยู่ในระดับ 3.99
  3. คะแนนค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของทั้ง 2 เทอม อยู่ในระดับ 4.18
[√] 5. มีการปรับปรุงระบบ VDO On Demand ตามข้อเสนอแนะของผู้ใช้
โดย จากแบบสำรวจไม่พบข้อเสนอแนะให้ปรับปรุง แต่ สวท.เห็นควรปรับปรุงหน้าเว็ปวีดีโอสื่อการสอนให้ทันสมัยยิ่งขึ้น
ประเมินตนเอง/การบรรลุเป้าหมาย
ค่าเป้าหมาย  

(ประเด็น)

4 เดือน 

(1 มิ.ย.55-30 ก.ย.55)

10 เดือน 

(1 มิ.ย. 55-31 มี.ค. 56)

12 เดือน 

(1 มิ.ย. 55-31 พ.ค. 56)

การบรรลุเป้าหมาย 12 เดือน
12 เดือน งปม. 55 

(1 ต.ค.55-30 ก.ย. 56)

6 เดือน งปม. 55  

(1 ต.ค.55-31 มี.ค. 56)

9 เดือน งปม. 55 

(1 ต.ค.55-31 พ.ค. 56)

[] [] [√]
ผล คะแนน ผล คะแนน ผล คะแนน ต่ำกว่าเป้าหมาย เท่ากับเป้าหมาย สูงกว่าเป้าหมาย
4 1 1 1 1 5 5

รายการหลักฐาน

1. จำนวนเนื้อหาวิชา VDO On Demand เพื่อการเรียนการสอนในหลักสูตรของมหาวิทยาลัย ที่ผลิตใหม่ประจำปีการศึกษา 2555 ไม่น้อยกว่า 20 วิชา

สวท 5.2-1-1 รายงานสรุปจำนวนสื่ออิเล็กทรอนิกส์แบบ e-Learning ที่ผลิตได้เสร็จสมบูรณ์
สวท 5.2-1-2 สื่ออิเล็กทรอนิกส์แบบ VDO On Demand ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2555
สวท 5.2-1-3 สื่ออิเล็กทรอนิกส์แบบ VDO On Demand ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2555
สวท 5.2-1-4 วิชาการตลาดบริการ
สวท 5.2-1-5 วิชาอาหารจานด่วนเพื่อสุขภาพ 9
สวท 5.2-1-6 วิชาศิลปะการแกะสลักผัก ผลไม้ และสบู่ 7
สวท 5.2-1-7 วิชาก้าวไกลกับสถาบันวิจัยและพัฒนา มทร.พระนคร 3
สวท 5.2-1-8 วิชาอาหารจานด่วนเพื่อสุขภาพ 10
สวท 5.2-1-9 วิชาการแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหาร
สวท 5.2-1-10 วิชาก้าวไกลสถาบันวิจัยและพัฒนา มทร.พระนคร 4
สวท 5.2-1-11 วิชาการแปรรูปผลิตภัณฑ์ผักตบชวา
สวท 5.2-1-12 วิชาสร้างสรรค์งานผ้า 4
สวท 5.2-1-13 วิชาสารพันงานประดิษฐ์
สวท 5.2-1-14 วิชาแบบตัดกางเกง
สวท 5.2-1-15 วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา
สวท 5.2-1-16 วิชาการเขียนภาษาอังกฤษ 1
สวท 5.2-1-17 วิชาสร้างสรรค์งานผ้า 3
สวท 5.2-1-18 วิชาจักรอุตสาหกรรมใช้ง่าย รายได้ดี
สวท 5.2-1-19 วิชาแบบตัดเสื้อชาย
สวท 5.2-1-20 วิชาอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์และการออกแบบวงจร
สวท 5.2-1-21 วิชาอาหารจ่านด่วนเพื่อสุขภาพ 8
สวท 5.2-1-22 วิชาศิลปะการแกะสลักผัก ผลไม้ และสบู่ 6
สวท 5.2-1-23 วิชาก้าวไกลกับสถาบันวิจัยและพัฒนา มทร.พระนคร

2. จำนวนเนื้อหา VDO On Demand หลักสูตรวิชาชีพ (บริการวิชาการแก่สังคม) ที่ผลิตใหม่แล้วเสร็จประจำปีการศึกษา 2555 ไม่น้อยกว่า 180 ตอน

สวท 5.2-2-24 รายงานสรุปจำนวนเนื้อหา VDO On Demand (บริการวิชาการแก่สังคม)
สวท 5.2-2-25 วิชาอาหารจานด่วนเพื่อสุขภาพ 9
สวท 5.2-2-26 วิชาศิลปะการแกะสลักผัก ผลไม้ และสบู่ 7
สวท 5.2-2-27 วิชาการเขียนภาษาอังกฤษ 1
สวท 5.2-2-28 วิชาสร้างสรรค์งานผ้า 3
สวท 5.2-2-29 วิชาจักรอุตสาหกรรมใช้ง่าย รายได้ดี
สวท 5.2-2-30 วิชาแบบตัดเสื้อชาย
สวท 5.2-2-31 วิชาอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์และการออกแบบวงจร
สวท 5.2-2-32 วิชาอาหารจานด่วยเพื่อสุขภาพ 8
สวท 5.2-1-33 วิชาศิลปะการแกะสลักผัก ผลไม้ และสบู่ 6
สวท 5.2-1-34 วิชาอาหารจานด่วนเพื่อสุขภาพ 10
สวท 5.2-1-35 วิชาการแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหาร
สวท 5.2-2-36 วิชาการแปรรูปผลิตภัณฑ์ผักตบชวา
สวท 5.2-1-37 วิชาสร้างสรรค์งานผ้า 4
สวท 5.2-1-38 วิชาสารพันงานประดิษฐ์
สวท 5.2-1-39 วิชาแบบตัดกางเกง

3. จำนวนครั้งของการเข้าใช้ VDO On Demand เพื่อการเรียนการสอนในหลักสูตรประจำปีการศึกษา 2555 ไม่น้อยกว่า 130,000 ครั้ง
4. มีการสำรวจความพึงพอผู้ใช้ระบบ VDO On Demand เพื่อการเรียนการสอนในชั้นเรียนในปีการศึกษา 2555 มีค่าเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 4.00
5. มีการปรับปรุงระบบ VDO On Demand ตามข้อเสนอแนะของผู้ใช้
จุดแข็ง
  1. เนื้อหาของสื่อที่ผลิตขึ้นในรูปแบบ Video On Demand สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้จริงตามสาขาวิชาชีพต่างๆ
  2. อาจารย์ผู้ถ่ายทอดความรู้มีความสมัครใจในการเผยแพร่ความรู้เพื่อเป็นวิทยาทานแก่สังคม
แนวทางแก้ไข สนับสนุนและแผนการพัฒนาส่งเสริมจากผลการประเมินตนเองตามมาตรฐาน มทร.พระนคร ปีการศึกษา 2555
แผน/โครงการ/กิจกรรม ผู้รับผิดชอบ งปม./ระยะเวลาดำเนินการ
แผนส่งเสริม 

  1. ส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพของระบบการผลิตสื่อให้มีมาตรฐาน
  2. ส่งเสริมการผลิตสื่ออิเล็กทรอนิกส์เพื่อการศึกษา แก่อาจารย์หน่วยงานต่างๆ
  3. ส่งเริมการเผยแพร่สื่อที่ผลิตขึ้นให้กว้างขวาง เพื่อประโยชน์แก่ประชาชน
– ผอ.สวท. 

– รอง ผอ. ฝ่ายวิทยบริการและนวัตกรรมการศึกษา

– งานวิจัยและพัฒนาสื่อการศึกษา

 

– งานผลิตสื่อโทรทัศน์

– งานผลิตสื่อคอมพิวเตอร์

– งานบริการทรัพยากรสื่ออิเล็กทรอนิกส์

 

ปี 2556
แผนพัฒนา 

ปี 2556