2556 IQA 4.1

ตัวบ่งชี้ที่ 4.1  :  ระดับความสำเร็จของการพัฒนาระบบ e-Learning

ชนิดของตัวบ่งชี้ : ผลผลิต
เกณฑ์การประเมิน
คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ
1 ประเด็น
มีการดำเนินการ
2 ประเด็น
มีการดำเนินการ
3 ประเด็น
มีการดำเนินการ
4 ประเด็น
มีการดำเนินการ
5 ประเด็น

เกณฑ์มาตรฐาน : ประเด็น

ผลการดำเนินงาน ในปีการศึกษา 2556 มีผลการดำเนินงาน 4 ประเด็น ดังนี้ 

[×] 1. จำนวนรายวิชา e-Learning เพื่อการเรียนการสอนในชั้นเรียนที่กลุ่มพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษาเป็นผู้ผลิต/ปรับปรุงเนื้อหาวิชาแล้วเสร็จในปีการศึกษา 2556 ไม่น้อยกว่า 20 รายวิชา

โดย กลุ่มงานพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา ดำเนินการผลิต/ปรับปรุงเนื้อหารายวิชา e-Learning ที่นำไปใช้เพื่อการเรียนการสอนออนไลน์ เสร็จสมบูรณ์ในปีการศึกษา 2556 และนำเผยแพร่สู่เว็บไซต์ระบบจัดการเรียนการสอนออนไลน์ ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ทั้งสิ้นจำนวน 18 รายวิชา แบ่งตามคณะต่างๆ ดังนี้

1.คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม จำนวน 2 วิชา

1.1 วิชาโครงสร้างข้อมูล ค.อ.บ.2550
1.2 วิชาปฎิบัติงานการทาความเย็นและปรับอากาศ

2. คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน จำนวน 1 วิชา

2.1 วิชาหลักการวิทยุโทรทัศน์และวิทยุกระจายเสียง

3. คณะบริหารธุรกิจ จำนวน 4 วิชา

3.1 วิชาการออกแบบและสร้างเว็บเพจ
3.2 วิชาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
3.3 วิชาการสนทนาภาษาอังกฤษธุรกิจสาหรับสินค้า OTOP
3.4 วิชา การเพิ่มผลผลิต (Productivity)

4. คณะวิศวกรรมศาสตร์ จำนวน 2 วิชา

4.1 วิชาวิทยาศาสตร์ 1 (อุตสาหกรรม)
4.2 วิชาเธอร์โมไดนามิกส์ 1 (THERMODYNAMICS1)

5. คณะศิลปศาสตร์ จำนวน 3 วิชา

5.1 วิชาสารสนเทศและการศึกษาค้นคว้า
5.2 วิชาสนทนาภาษาอังกฤษ
5.3 วิชาภาษาอังกฤษเพื่องานอาชีพ

6. คณะวิทยาศาสตร์ จำนวน 4 วิชา

6.1 วิชาเคมีวิเคราะห์
6.2 วิชาเคมีสาหรับวิศวกร
6.3 วิชา Principle Physics
6.4 วิชาสรีรวิทยามนุษย์ (Human Physiology)

7. คณอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น จำนวน 2 รายวิชา

7.1 วิชาระบบการย้อมสีสิ่งทอ 1
7.2 วิชาการสัมมนางานเคมีสิ่งทอ

[√] 2. จำนวน e-Learning ที่อาจารย์เป็นผู้ผลิตขึ้นใหม่ (ไม่นับรวมของเก่า) เก็บไว้ในฐานข้อมูล e-Learning ของมหาวิทยาลัยในปีการศึกษา 2556 ไม่น้อยกว่า 30 รายวิชา

โดย อาจารย์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ผลิตรายวิชา e-Learning ขึ้นใหม่ (ไม่นับรวมของเก่า) ที่นำไปใช้เพื่อการเรียนการสอนออนไลน์ ในปีการศึกษา 2556 ทั้งสิ้นจำนวน 30 รายวิชา แบ่งตามคณะต่างๆ ดังนี้

  1. คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม จำนวน 2 รายวิชา
  2. คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน จำนวน 1 รายวิชา
  3. คณะบริหารธุรกิจ จำนวน  5 รายวิชา
  4. คณะวิศวกรรมศาสตร์ จำนวน 6 รายวิชา
  5. คณะศิลปศาสตร์ จำนวน  10 รายวิชา
  6. คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ จำนวน 4 รายวิชา
  7. คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี จำนวน 2 รายวิชา
[√] 3. จำนวนครั้งของการเข้าใช้ e-Learning เพื่อการเรียนการสอนในชั้นเรียนในปีการศึกษา 255ุ6 ไม่น้อยกว่า 45,000 ครั้ง
โดย จำนวนครั้งของการเข้าใช้สื่อ e-Learning ที่นำไปใช้เพื่อการเรียนการสอนออนไลน์ ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ในปีการศึกษา 2556 จำนวนทั้งสิ้น 45,386 ครั้ง
[√] 4. มีการสำรวจความพึงพอผู้ใช้ระบบ e-Learning  เพื่อการเรียนการสอนในชั้นเรียนในปีการศึกษา 2556 มีค่าเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 4.00

โดย จากการสำรวจความพึงพอผู้ใช้ระบบ e-Learning  เพื่อการเรียนการสอนในชั้นเรียนในปีการศึกษา 2556 พบว่า

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556  มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจอยู่ในระดับ 3.98
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556  มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจอยู่ในระดับ 4.01

[×] 5. มีการปรับปรุงระบบ e-Learning ตามข้อเสนอแนะของผู้ใช้
โดย –
ประเมินตนเอง/การบรรลุเป้าหมาย
ค่าเป้าหมาย

(ประเด็น)

4 เดือน

(1 มิ.ย.56-30 ก.ย.56)

8 เดือน

(1 มิ.ย. 55-31 ม.ค. 56)

12 เดือน 

(1 มิ.ย. 55-31 พ.ค. 56)

การบรรลุเป้าหมาย 12 เดือน
[√] [ ] [ ]
ผล คะแนน ผล คะแนน ผล คะแนน ต่ำกว่าเป้าหมาย เท่ากับเป้าหมาย สูงกว่าเป้าหมาย
4 1 1 1 1 3 3

รายการหลักฐาน

1. จำนวนรายวิชา e-Learning เพื่อการเรียนการสอนในชั้นเรียนที่กลุ่มพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา เป็นผู้ผลิต/ปรับปรุงเนื้อหาวิชาแล้วเสร็จในปีการศึกษา 2556 ไม่น้อยกว่า 20 รายวิชา

โดยกลุ่มพัฒนานวัตกรรมฯ ได้ผลิต/ปรับปรุงเนื้อวิชาแล้วเสร็จในปีการศึกษา 2556 รวมทั้งหมด 18 วิชา ดังนี้

สวท 4.1-1-1 คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม จำนวน 2 วิชา

1. วิชาโครงสร้างข้อมูล ค.อ.บ.2550
2. วิชาปฎิบัติงานการทาความเย็นและปรับอากาศ

สวท.4.1-1-2 คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน จำนวน 1 วิชา

1 . วิชาหลักการวิทยุโทรทัศน์และวิทยุกระจายเสียง

สวท.4.1-1-3 คณะบริหารธุรกิจ จำนวน 4 วิชา

1 วิชาการออกแบบและสร้างเว็บเพจ
2 วิชาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
3 วิชาการสนทนาภาษาอังกฤษธุรกิจสาหรับสินค้า OTOP
4 วิชา การเพิ่มผลผลิต (Productivity)

สวท.4.1-1-4 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จำนวน  2 วิชา

1 วิชาวิทยาศาสตร์ 1 (อุตสาหกรรม)
2 วิชาเธอร์โมไดนามิกส์ 1 (THERMODYNAMICS1)

สวท.4.1-1-5 คณะศิลปศาสตร์ จำนวน 3 วิชา

1 วิชาสารสนเทศและการศึกษาค้นคว้า
2 วิชาสนทนาภาษาอังกฤษ
3 วิชาภาษาอังกฤษเพื่องานอาชีพ

สวท.4.1-1-6 คณะวิทยาศาสตร์ จำนวน 4 วิชา

1 วิชาเคมีวิเคราะห์
2. วิชาเคมีสาหรับวิศวกร
3 วิชา Principle Physics
4 วิชาสรีรวิทยามนุษย์ (Human Physiology)

สวท.4.1-1-7 คณอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น จำนวน 2 รายวิชา

1 วิชาระบบการย้อมสีสิ่งทอ 1
2 วิชาการสัมมนางานเคมีสิ่งทอ

2. จำนวน e-Learning ที่อาจารย์เป็นผู้ผลิตขึ้นใหม่ (ไม่นับรวมของเก่า) เก็บไว้ในฐานข้อมูล e-Learning ของมหาวิทยาลัยในปีการศึกษา 2556 ไม่น้อยกว่า 30 รายวิชา

สวท.4.1-2-8 รายงานสรุปจำนวนวิชา e-Learning เพื่อการเรียนการสอน

สวท.4.1-2-9 คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม จำนวน 2 รายวิชา

สวท.4.1-2-10 คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน จำนวน 1 รายวิชา

สวท.4.1-2-11 คณะบริหารธุรกิจ จำนวน 5 รายวิชา

สวท.4.1-2-12 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จำนวน 6 รายวิชา

สวท.4.1-2-13 คณะศิลปศาสตร์ จำนวน 10 รายวิชา

สวท.4.1-2-14 คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ จำนวน 4 รายวิชา

สวท.4.1-2-15 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี จำนวน 2 รายวิชา

3. จำนวนครั้งของการเข้าใช้ e-Learning เพื่อการเรียนการสอนในชั้นเรียนในปีการศึกษา 2556 ไม่น้อยกว่า 45,000 ครั้ง
โดย จำนวนครั้งของการเข้าใช้สื่อ e-Learning ที่นำไปใช้เพื่อการเรียนการสอนออนไลน์ ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ในปีการศึกษา 2556 จำนวนทั้งสิ้น 45,386 ครั้ง
4. มีการสำรวจความพึงพอผู้ใช้ระบบ e-Learning  เพื่อการเรียนการสอนในชั้นเรียนในปีการศึกษา 255ุ6 มีค่าเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 4.00
จุดแข็ง
  1. ความพร้อมด้านสถานที่และอุปกรณ์ในการผลิตสื่อ e-Learning และดูแลการใช้งานระบบ e-Learning
  2. มีบุคลากรที่สามารถให้คำแนะนำและให้ความรู้ในการผลิตสื่อ e-Learning แก่อาจารย์ได้
  3. มีเว็บไซต์ระบบจัดการเรียนการสอนออนไลน์ที่ใช้งานง่าย โดยมีคู่มือและวิดีโอสาธิตการใช้งาน
  4. มีระบบประเมินระดับความพึงพอใจของสื่ออิเล็กทรอนิกส์แบบออนไลน์ ที่สะดวกแก่การทำแบบประเมินของผู้เข้าชม ทำให้สามารถประเมินผลสื่ออิเล็กทรอนิกส์ได้อย่างทั่วถึง

จุดควรพัฒนา

  1. มหาวิทยาลัยควรมีนโยบายให้อาจารย์จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานระบบ e-Learning ร่วมกับการเรียนการสอนแบบปกติในชั้นเรียน
  2. จัดอบรมให้ความรู้แก่อาจารย์เพื่อผลิตสื่ออิเล็กทรอนิกส์แบบ e-Learning
  3. ควรมีเจ้าหน้าที่ด้านระบบเครือข่ายที่รับผิดชอบดูแลระบบจัดการเรียนการสอน e-Learning ของมหาวิทยาลัย
  4. ควรมีการจัดอบรมด้านวิธีการผลิตสื่ออิเล็กทรอนิกส์เพื่อการเรียนการสอน e-Learning และการจัดการศึกษาแบบ e-Learning แก่บุคลากรเพิ่มเติม
  5. ปรับปรุงเว็บไซต์ระบบจัดการเรียนการสอนออนไลน์ ให้สะดวกแก่การใช้งานมากยิ่งขึ้น และให้ข้อมูลที่ทันสมัยอยู่เสมอ
แนวทางแก้ไข สนับสนุนและแผนการพัฒนาส่งเสริมจากผลการประเมินตนเองตามมาตรฐาน มทร.พระนคร ปีการศึกษา 2556
แผน/โครงการ/กิจกรรม ผู้รับผิดชอบ งปม./ระยะเวลาดำเนินการ
แผนส่งเสริม

  1. ส่งเสริมให้มีการจัดการเรียนการสอนด้วยระบบ e-Learning
  2. ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรที่รับผิดชอบด้าน e-Learning
  3. ส่งเสริมการยกระดับความพึงพอใจของผู้ใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์
– ผู้อำนวยการ สวท.
– รองฝ่ายวิทยบริการและนวัตกรรมการศึกษา
– งานพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา
2557
แผนพัฒนา

  1. มีแผนพัฒนาให้แต่ละคณะจัดการเรียนการสอนด้วยระบบ e-Learning
  2. พัฒนาการจัดอบรมวิธีการผลิตสื่ออิเล็กทรอนิกส์ และการจัดการศึกษาแบบ e-Learning แก่บุคลากร
  3. พัฒนางบประมาณในการจัดสรรอุปกรณ์ และสถานที่ในการผลิตสื่ออิเล็กทรอนิกส์รูปแบบต่างๆ
  4. พัฒนาการจัดโครงการอบรมให้ความรู้อาจารย์เพื่อผลิตสื่ออิเล็กทรอนิกส์แบบ e-Learning
  5. พัฒนาการจัดสรรเจ้าหน้าที่ด้านระบบเครือข่าย ในการดูแลระบบ e–Learning
  6. พัฒนาการปรับปรุงเว็บไซต์เผยแพร่สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ให้สามารถแสดงผลสื่อได้หลากหลายรูปแบบ และมีการอัพเดทข้อมูลให้ทันสมัยอยู่เสมอ
  7. พัฒนาระบบการจัดเก็บและแสดงผลสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ที่มีมีความรวดเร็วและสามารถแสดงผลได้อย่างมีคุณภาพ
2557