ข้อ 6.2 ปี 2560 ความเสี่ยงเครือข่าย

ตัวบ่งชี้ที่ 6.2  การบริหารความเสี่ยง
ชนิดของตัวบ่งชี้ : กระบวนการ
เกณฑ์การประเมิน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
ครบถ้วน
1 ประเด็น
ครบถ้วน
2 ประเด็น
ครบถ้วน
3 ประเด็น
ครบถ้วน
4 ประเด็น
ครบถ้วน
5-6 ประเด็น

เกณฑ์มาตรฐาน : ประเด็น

1. มีการแต่งตั้งคณะกรรมการหรือคณะทำงานบริหารความเสี่ยงภายใน โดยมีผู้บริหารและตัวแทนที่รับผิดชอบพันธกิจหลักของสำนักร่วมเป็นคณะกรรมการหรือคณะทำงาน
2. มีการวิเคราะห์และระบุความเสี่ยง และปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเสี่ยง ตามบริบทของสำนักสอดคล้องสนองตอบต่อการบริหารความเสี่ยงของมหาวิทยาลัย
3. มีการประเมินโอกาสและผลกระทบของความเสี่ยงและจัดลำดับความเสี่ยงที่ได้จากการวิเคราะห์ในข้อ 2
4. มีการจัดทำแผนบริหารความเสี่ยงที่มีระดับความเสี่ยงสูง และดำเนินการตามแผน
5. มีการติดตาม และประเมินผลการดำเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยง และรายงานต่อคณะกรรมการประจำสำนัก เพื่อพิจารณาอย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง
6. มีการนำผลการประเมิน และข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการประจำสำนักไปใช้ในการปรับแผนหรือวิเคราะห์ความเสี่ยงในรอบปีถัดไป

ประเมินตนเอง/การบรรลุเป้าหมาย

ค่าเป้าหมาย
(ข้อ)
12 เดือน
(1 ส.ค. 59-31 ก.ค. 60)
การบรรลุเป้าหมาย 12 เดือน
[ ] [ ] [√]
ผล คะแนน ต่ำกว่าเป้าหมาย เท่ากับเป้าหมาย สูงกว่าเป้าหมาย
3  5  5

รายการหลักฐาน

1. มีการแต่งตั้งคณะทำงานบริหารความเสี่ยงภายในของ สวส.

6.2.1 คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงภายในของ สวส.

2. มีการวิเคราะห์และระบุความเสี่ยง และปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเสี่ยง ตามบริบทของสำนักสอดคล้องสนองตอบต่อการบริหารความเสี่ยงของมหาวิทยาลัย

6.2.2   ความเสี่ยงเรื่องการบริหารความเสี่ยงโครงการ

3. มีการประเมินโอกาสและผลกระทบของความเสี่ยงและจัดลำดับความเสี่ยงที่ได้จากการวิเคราะห์ในข้อ 2

6.2.3  แผนผังการประเมินโอกาสและผลกระทบของความเสี่ยงและจัดลำดับความเสี่ยง

4. มีการจัดทำแผนบริหารความเสี่ยงที่มีระดับความเสี่ยงสูง และดำเนินการตามแผน

6.2.4  ความเสี่ยงเรื่องการบริหารความเสี่ยงโครงการย้ายห้อง Data Center

5. มีการติดตาม และประเมินผลการดำเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยง และรายงานต่อคณะกรรมการประจำสำนัก เพื่อพิจารณาอย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง

6.2.5 ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยงโครงการย้ายห้อง Data Center

จุดแข็ง

  1. มีการใช้งานเทคโนโลยีที่ส่งผลให้การบริหารจัดการระบบเครือข่ายและเครื่องแม่ข่ายมีความพร้อมใช้งานสูง
  2. บุคลากรมีความรู้ความเข้าใจและมีลำดับการปฏิบัติงานที่ดี

จุดที่ควรพัฒนา

  1. พัฒนาบุคลากรให้มีความรู้และทักษะในการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าให้ดีขึ้น
  2. การทำเอกสารกับกำอุปกรณ์เครือข่ายและเครื่องแม่ข่ายยังมีน้อย
 ผู้รับผิดชอบ ชื่อ ตำแหน่ง
ผู้กำกับตัวบ่งชี้  นายเชาวลิต  สมบูรณ์พัฒนากิจ  รองผู้อำนวยการสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้จัดเก็บข้อมูล/รายงาน  นายสุทธิพงษ์  คำแปง  นักวิชาการคอมพิวเตอร์