2559 IQA 6.3

ตัวบ่งชี้ที่ 6.3  การพัฒนาสถาบันสู่สถาบันแห่งการเรียนรู้
ชนิดของตัวบ่งชี้ : กระบวนการ
เกณฑ์การประเมิน :

คะแนน 1

คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4

คะแนน 5

ครบถ้วน
1 ประเด็น

ครบถ้วน
2 ประเด็น
ครบถ้วน
3 ประเด็น
ครบถ้วน
4 ประเด็น

ครบถ้วน
5 ประเด็น

ผลการดำเนินงาน

[√] 1. มีการกำหนดประเด็นความรู้และเป้าหมายของการจัดการความรู้ที่สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ของสำนักอย่างน้อยครอบคลุมทุกพันธกิจ

สำนักวิทยบริการฯ มีการกำหนดประเด็นความรู้เกี่ยวกับการเพิ่มสมรรถนะในการปฏิบัติงานเพื่อตอบสนองตอยุทธศาสตรและพันธกิจของสํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ครอบคลุมทักภาระกิจหลักของสำนัก

[√] 2. กำหนดบุคลากรเป้าหมายที่จะพัฒนาความรู้และทักษะตามพันธกิจหลักของสำนักอย่างชัดเจนตามประเด็นความรู้ที่กำหนดในข้อ 1

โดยมีเป้าหมายการจัดการความรู้เป็นบุคลากรของสำนักไม่ต่ำกว่าร้อยละ 90 ของบุคลากรทั้งหมด ได้รับการพัฒนาความรู้ จากการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในกลุ่มตามภาระกิจหลักของแต่ละกลุ่ม

[√] 3. มีการแบ่งปันและแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากความรู้ ทักษะของผู้มีประสบการณ์ตรง (tacit knowledge) เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีตามประเด็นความรู้ที่กำหนดในข้อ 1 และเผยแพร่ไปสู่บุคลากรกลุ่มเป้าหมายที่กำหนด

มีการแบ่งปันแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากผู้มีประสบการณ์การทำงานมาก่อน และค้นหาแนวปฏิบัติที่ดี พร้อมกับเผยแพร่ผ่านทางเว็ปไซต์ของแต่ละกลุ่มงานภาระกิจหลัก

[√] 4.มีการรวบรวมความรู้ตามประเด็นความรู้ที่กำหนดในข้อ 1 ทั้งที่มีอยู่ในตัวบุคคลและแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ ที่เป็นแนวปฏิบัติที่ดีมาพัฒนาและจัดเก็บอย่างเป็นระบบโดยเผยแพร่ออกมาเป็นลายลักษณ์อักษร

มีการรวบรวมความรู้จากบุคคลภายในกลุ่ม และจากเอกสารงานวิจัยอื่น ๆ จัดทำเป็นแนวปฎิบัติที่ดี (1) เรื่อง การบริหารจัดการครุภัณฑ์และวัสดุ (2) เรื่อง ระบบการจัดเก็บ (3) เรื่อง การพิจารณารับหนังสือบริจาค (4) เรื่อง การถ่ายทำรายการโทรทัศน์จากระบบ SD เป็น HD  รวมถึงจัดทำคู่มือการปฎิบัติงานเรื่องระบบศูนย์ข้อมูลแบบพร้อมใช้งานสูงโดยใช้เทคโนโลยีเฟลโอเวอร์คลัสเตอร์  และคู่มือการใช้งานระบบเว็ปมอนิเตอร์ (WebMon RMUTP)

[√] 5. มีการนำความรู้ที่ได้จากการจัดการความรู้ในปีการศึกษาปัจจุบันหรือปีการศึกษาที่ผ่านมา ที่เป็นลายลักษณ์อักษร (explicit knowledge) และจาก

ความรู้ ทักษะของผู้มีประสบการณ์ตรง (tacit knowledge) ที่เป็นแนวปฏิบัติที่ดีมาปรับใช้ในการปฏิบัติงานจริง
สำนักมีการนำความรู้จากแนวปฏิบัติที่ดีมาใช้ในการพัฒนาระบบงานและใช้งานจริง เช่นระบบชมรมนักศึกษา และการนำความรู้เรื่องของการใช้เทคโนโลยีเฟลโอเวอร์คลัสเตอร์มาปฎิบัติงานด้านระบบเครือข่ายของมหาวิทยาลัย

ประเมินตนเอง/การบรรลุเป้าหมาย

ค่าเป้าหมาย
(ประเด็น)
10 เดือน
(1 ส.ค. 59-31 พ.ค. 60)
การบรรลุเป้าหมาย 12 เดือน
[ ] [ ] [√]
ผล คะแนน ต่ำกว่าเป้าหมาย เท่ากับเป้าหมาย สูงกว่าเป้าหมาย
3  5  5

รายการหลักฐาน

1.มีการกำหนดประเด็นความรู้และเป้าหมายของการจัดการความรู้ที่สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ของสำนักอย่างน้อยครอบคลุมทุกพันธกิจ

สวส.6.3.1-1  องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฎิบัติราชการ และเป้าหมายการจัดการความรู้

2. กำหนดบุคลากรเป้าหมายที่จะพัฒนาความรู้และทักษะตามพันธกิจหลักของสำนักอย่างชัดเจนตามประเด็นความรู้ที่กำหนดในข้อ 1

สวส.6.3.2-2  แผนการจัดการความรู้ กลุ่มเป้าหมายที่จะพัฒนาความรู้และทักษาตามพันธกิจ

3. มีการแบ่งปันและแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากความรู้ ทักษะของผู้มีประสบการณ์ตรง (tacit knowledge) เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีตามประเด็นความรู้ที่กำหนดในข้อ 1 และเผยแพร่ไปสู่บุคลากรกลุ่มเป้าหมายที่กำหนด

สวส.6.3.3-3  การแบ่งปันและแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากผู้มีประสบการณ์ตรงผ่านระบบออนไลน์ กลุ่มเทคโนโลยีสารสนเทศ
สวส.6.3.3-4  การแบ่งปันและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านระบบออนไลน์ กลุ่มเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสาร
สวส.6.3.3-5  การแบ่งปันและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านระบบออไลน์ งานสำนักงานผู้อำนวยการ
สวส.6.3.3-6  การแบ่งปันและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านระบบออนไลน์ กลุ่มวิทยบริการ
สวส.6.3.3-7  การแบ่งปันและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านระบบออนไลน์ การสร้างภาพยนต์ งานพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา

4. มีการรวบรวมความรู้ตามประเด็นความรู้ที่กำหนดในข้อ 1 ทั้งที่มีอยู่ในตัวบุคคลและแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ ที่เป็นแนวปฏิบัติที่ดีมาพัฒนาและจัดเก็บอย่างเป็นระบบโดยเผยแพร่ออกมาเป็นลายลักษณ์อักษร

สวส.6.3.4-8  แนวปฏิบัติที่ดี เรื่อง การบริหารจัดการครุภัณฑ์และวัสดุ
สวส.6.3.4-9  แนวปฏิบัติที่ดี เรื่อง การพิจารณารับหนังสือบริจาค
สวส.6.3.4-10  แนวปฏิบัติที่ดี (Best Practice) เรื่อง การถ่ายทำรายการโทรทัศน์จากระบบ SD เป็น HD
สวส.6.3.4-11  คู่มือปฏิบัติงานระบบศูนย์ข้อมูลแบบพร้อมใช้งานสูงโดยใช้เทคโนโลยีเฟลโอเวอร์คลัสเตอร์
สวส.6.3.4-12  คู่มือการใช้งานระบบเว็ปมอนิเตอร์ (WebMon RMUTP)

5. มีการนำความรู้ที่ได้จากการจัดการความรู้ในปีการศึกษาปัจจุบันหรือปีการศึกษาที่ผ่านมา ที่เป็นลายลักษณ์อักษร (explicit knowledge) และจากความรู้ ทักษะของผู้มีประสบการณ์ตรง (tacit knowledge) ที่เป็นแนวปฏิบัติที่ดีมาปรับใช้ในการปฏิบัติงานจริง

สวส.6.3.5-13  การนำความรู้จากแนวปฏิบัติที่ดีไปใช้งานจริง ระบบสารสนเทศชมรมนักศึกษา1รายชื่อนักศึกษาชมรม
สวส.6.3.5-14  การนำความรู้จากแนวปฎิบัติที่ดีไปใช้บริหารระบบศูนย์ข้อมูลแบบพร้อมใช้งานสูงโดยใช้เทคโนโลยีเฟลโอเวอร์คลัสเตอร์
สวส.6.3.5-15  การนำความรู้จากแนวปฎิบัติที่ดีไปใช้บริหารจัดการระบบวัสดุครุภัณฑ์ของสำนักวิทยบริการฯ
สวส.6.3.5-16  การนำความรู้จากแนวปฏิบัติที่ดีไปใช้งานจริงการใช้โปรแกรมตัดต่อวิดีโอ Adobe Premiere Pro ในการตัดต่องานสถาปนามหาวิทยาลัย 12 ปี RMUTP คิด(ส์)ดี ทำดี…เพื่อสังคม
สวส.6.3.5-17  การนำความรู้จากแนวปฏิบัติที่ดีไปใช้งานจริง การพิจารณารับหนังสือบริจาค

จุดเด่น 

  • มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และจัดเก็บอย่างเป็นระบบทุกกลุ่ม โดยทุกคนมีส่วนร่วม และมีการเผยแพร่องค์ความรู้ทางเว็ปไซต์อย่างต่อเนื่องทุกปี

จุดที่ควรพัฒนา

ผู้รับผิดชอบ ชื่อ ตำแหน่ง
ผู้กำกับตัวบ่งชี้ นายธนาวุฒิ  นิลมณี ผอ.สวส.
ผู้จัดเก็บข้อมูล/รายงาน น.ส.เพชราภรณ์  เพ็ชรแก้ว รอง ผอ.สวส.