ตัวบ่งชี้ที่ 6.2 การบริหารความเสี่ยง
ชนิดของตัวบ่งชี้ : กระบวนการ
เกณฑ์การประเมิน :
คะแนน 1 |
คะแนน 2 | คะแนน 3 | คะแนน 4 |
คะแนน 5 |
ครบถ้วน |
ครบถ้วน 2 ประเด็น |
ครบถ้วน 3 ประเด็น |
ครบถ้วน 4 ประเด็น |
ครบถ้วน |
ผลการดำเนินงาน
[√] 1.มีการแต่งตั้งคณะกรรมการหรือคณะทำงานบริหารความเสี่ยงภายใน โดยมีผู้บริหารและตัวแทนที่รับผิดชอบพันธกิจหลักของสำนักร่วมเป็นคณะกรรมการหรือคณะทำงาน[√] 2. มีการวิเคราะห์และระบุความเสี่ยง และปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเสี่ยง ตามบริบทของสำนักสอดคล้องสนองตอบต่อการบริหารความเสี่ยงของมหาวิทยาลัยสำนักมีการแต่งตั้งคณะกรรมการเพื่อวิเคราะห์และบริหารความเสี่ยงภายในของสำนักตามพันธกิจหลักของสำนัก
[√] 3. มีการประเมินโอกาสและผลกระทบของความเสี่ยงและจัดลำดับความเสี่ยงที่ได้จากการวิเคราะห์ในข้อ 2สำนักมีการวิเคราะห์และระบุความเสี่ยง และปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเสี่ยงตามพันธกิจ 5 เรื่องดังนี้ (1) ความเสี่ยงเรื่องการขอยืมข้ามห้องสมุดสาขา (2) ความเสี่ยงเรื่องการส่งวิดีโอสื่อการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม (3) ความเสี่ยงเรื่องการบริหารความเสี่ยงโครงการเรื่องการขาดการบำรุงรักษาอุปกรณ์ห้อง Data Center (4) ความเสี่ยงเรื่องการบริหารความเสี่ยงการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ (5)
[√] 4. มีการจัดทำแผนบริหารความเสี่ยงที่มีระดับความเสี่ยงสูง และดำเนินการตามแผนโดยสำนักมีการประเมินโอกาสและผลกระทบของความเสี่ยงตามพันธกิจหลัก 5 ด้าน
[√] 5. มีการติดตาม และประเมินผลการดำเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยง และรายงานต่อผู้บริหาร อย่างน้อย ปีละ 1 ครั้งโดยสำนักมีการจัดทำแผนบริหารความเสี่ยงที่มีระดับความเสี่ยงสูงในแต่ละพันธกิจหลัก 5 ด้าน และดำเนินการตามแผน
โดยมีการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานตามแผนบริหารความเสียง และรายงานผู้บริหาร
ประเมินตนเอง/การบรรลุเป้าหมาย
ค่าเป้าหมาย (ประเด็น) |
12 เดือน (1 มิ.ย. 60-31 พ.ค. 61) |
การบรรลุเป้าหมาย 12 เดือน | |||
[ ] | [ ] | [√] | |||
ผล | คะแนน | ต่ำกว่าเป้าหมาย | เท่ากับเป้าหมาย | สูงกว่าเป้าหมาย | |
3 | 5 | 5 |
รายการหลักฐาน
1. มีการแต่งตั้งคณะทำงานบริหารความเสี่ยงภายในของ สวส.
สวส.6.2.1-1 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงภายในสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ปีการศึกษา 2560
2. มีการวิเคราะห์และระบุความเสี่ยง และปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเสี่ยง ตามบริบทของสำนักสอดคล้องสนองตอบต่อการบริหารความเสี่ยงของมหาวิทยาลัย
สวส.6.2.2-2 การวางแผนการพัฒนาบุคลากรของมหาวิทยาลัยเพื่อรองรับการเป็น Digital University
3. มีการประเมินโอกาสและผลกระทบของความเสี่ยงและจัดลำดับความเสี่ยงที่ได้จากการวิเคราะห์ในข้อ 2
4. มีการจัดทำแผนบริหารความเสี่ยงที่มีระดับความเสี่ยงสูง และดำเนินการตามแผน
สวส.6.2.4-12 การวางแผนการพัฒนาบุคลากรของมหาวิทยาลัยเพื่อรองรับการเป็น Digital University
5. มีการติดตาม และประเมินผลการดำเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยง และรายงานต่อผู้บริหาร อย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง
สวส.6.2.5.23 บันทึกรายงานผลการดำเนินงานความเสี่ยงต่อผู้บริหารสำนัก
จุดเด่น
- ทุกกลุ่มให้ความสำคัญในการทำการความเสียงและควบคุมภายในภาระงานที่ตนเองรับผิดชอบ
จุดที่ควรพัฒนา
- –
ผู้รับผิดชอบ | ชื่อ | ตำแหน่ง |
ผู้กำกับตัวบ่งชี้ | น.ส.เพชราภรณ์ เพ็ชรแก้ว | รอง ผอ.สวส. |
ผู้จัดเก็บข้อมูล/รายงาน | นายนพณรรจ์ เนตรสกูลณี | นักวิชาการคอมพิวเตอร์ฯ |