ตัวบ่งชี้ที่ 6.2 การบริหารความเสี่ยง
ชนิดของตัวบ่งชี้ : กระบวนการ
เกณฑ์การประเมิน :
คะแนน 1 |
คะแนน 2 | คะแนน 3 | คะแนน 4 | คะแนน 5 |
ครบถ้วน 1 ประเด็น |
ครบถ้วน 2 ประเด็น |
ครบถ้วน 3 ประเด็น |
ครบถ้วน 4 ประเด็น |
ครบถ้วน |
ผลการดำเนินงาน
[√] 1.มีการแต่งตั้งคณะกรรมการหรือคณะทำงานบริหารความเสี่ยงภายใน โดยมีผู้บริหารและตัวแทนที่รับผิดชอบพันธกิจหลักของสำนักร่วมเป็นคณะกรรมการหรือคณะทำงาน[√] 2. มีการวิเคราะห์และระบุความเสี่ยง และปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเสี่ยง ตามบริบทของสำนักสอดคล้องสนองตอบต่อการบริหารความเสี่ยงของมหาวิทยาลัยโดย สำนักวิทยบริการฯ มีการแต่งตั้งคณะทำงานบริหารความเสี่ยงภายใน โดยมีหัวหน้ากลุ่มงาน เป็นคณะกรรมการทำงาน
[√] 3. มีการประเมินโอกาสและผลกระทบของความเสี่ยงและจัดลำดับความเสี่ยงที่ได้จากการวิเคราะห์ในข้อ 2สำนักดำเนินการวิเคราะห์ความเสี่ยงและระบุปัจจัยเสี่ยงตามภาระกิจหลักของสำนักที่สะท้อนภารกิจของมหาวิทยาลัยด้านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ด้านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านวิทยบริการ ด้านการผลิตสื่อการเรียนการสอน และด้านการบริหารภายในของสำนัก จำนวน 5 เรื่องมีการประเมินโอกาสและผลกระทบของความเสี่ยงและจัดลำดับความเสี่ยงที่ได้จากการวิเคราะห์ในข้อ 2
[√] 4. มีการจัดทำแผนบริหารความเสี่ยงที่มีระดับความเสี่ยงสูง และดำเนินการตามแผนสำนักจัดทำแผนบริหารความเสี่ยงตามแบบฟอร์มใหม่ที่กำหนดและวัดระดับความเสี่ยง พร้อมกับดำเนินการตามแผนจำนวน 5 แผนดังนี้ (2) เรื่องการพัฒนาคุณภาพการศึกษาทางไกลผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ (Smart Classroom)
[√] 5. มีการติดตาม และประเมินผลการดำเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยง และรายงานต่อผู้บริหาร อย่างน้อย ปีละ 1 ครั้งสำนักดำเนินการจัดทำแผนบริหารความเสี่ยงตามลำดับที่มีความเสี่ยงสูง และดำเนินการตามแผน ส่วนใหญ่จะสูงทั้งหมดจึงดำเนินการทั้งหมดในภารกิจหลัก
สำนักมีการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยง ตามแบบ ปย.2
ประเมินตนเอง/การบรรลุเป้าหมาย
ค่าเป้าหมาย (ข้อ) |
12 เดือน (1 ส.ค. 59-31 ก.ค. 60) |
การบรรลุเป้าหมาย 12 เดือน | |||
[ ] | [ ] | [√] | |||
ผล | คะแนน | ต่ำกว่าเป้าหมาย | เท่ากับเป้าหมาย | สูงกว่าเป้าหมาย | |
3 | 5 | 6 |
รายการหลักฐาน
1. มีการแต่งตั้งคณะทำงานบริหารความเสี่ยงภายในของ สวส.
สวส.6.2.1-1 คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงภายในของ สวส.
2. มีการวิเคราะห์และระบุความเสี่ยง และปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเสี่ยง ตามบริบทของสำนักสอดคล้องสนองตอบต่อการบริหารความเสี่ยงของมหาวิทยาลัย
สวส.6.2.2-2 การพัฒนาคุณภาพการศึกษาทางไกลผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ (Smart Classroom)
3. มีการประเมินโอกาสและผลกระทบของความเสี่ยงและจัดลำดับความเสี่ยงที่ได้จากการวิเคราะห์ในข้อ 2
4. มีการจัดทำแผนบริหารความเสี่ยงที่มีระดับความเสี่ยงสูง และดำเนินการตามแผน
สวส.6.2.4-4 การจัดทำแผนบริหารความเสี่ยง เรื่องการพัฒนาคุณภาพการศึกษาทางไกลผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ (Smart Classroom)
5. มีการติดตาม และประเมินผลการดำเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยง และรายงานต่อผู้บริหาร อย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง
สวส.6.2.5-5 การติดตาม และประเมินผลการดำเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยง เรื่อง การพัฒนาคุณภาพการศึกษาทางไกลผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ (Smart Classroom)
6.2.5-6 บันทึกข้อความรายงานผู้บริหาร
จุดเด่น
- มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงตามภาระงานทุกปี
จุดที่ควรพัฒนา
- ให้ความรู้แก่บุคลากรอย่างทั่วถึงเกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยง
ผู้รับผิดชอบ |
ชื่อ |
ตำแหน่ง |
ผู้กำกับตัวบ่งชี้ | น.ส.เพชราภรณ์ เพ็ชรแก้ว | รอง ผอ.สวส. |
ผู้จัดเก็บข้อมูล/รายงาน | นายนพณรรจ์ เนตรสกูลณี | นักวิชาการคอมพิวเตอร์ฯ |