2557 IQA 4

องค์ประกอบที่ 1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

ตัวบ่งชี้ที่ 1.4   สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ด้านการเรียนการสอนทางไกล

ชนิดตัวบ่งชี้  : กระบวนการ

เกณฑ์การประเมิน  :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ประเด็น มีการดำเนินการ 2 ประเด็น มีการดำเนินการ 3 ประเด็น มีการดำเนินการ 4 ประเด็น มีการดำเนินการ 5 ประเด็น

เกณฑ์มาตรฐาน : ข้อ

ผลการดำเนินงาน : ในปีการศึกษา 2557 มีผลการดำเนินงาน ดังนี้

[ √ ] 1. มีระบบ และกลไก ด้านการเรียนการสอนทางไกล

โดย กลุ่มพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา ได้จัดทำระบบกลไกด้านการเรียนการสอนทางไกลขึ้น เพื่อเป็นการกำหนดเป้าหมาย ขอบเขต และวางแผนการดำเนินงานระบบการเรียนการสอนทางไกล มีการประเมินกระบวนการ เพื่อนำผลมาพัฒนาและปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

[ √ ] 2. มีการนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงานด้านการเรียนการสอนทางไกล

โดย กลุ่มพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา มีการแต่งตั้งคณะกรรมการสนับสนุนการเรียนรู้ด้านการเรียนการสอนทางไกล เพื่อพัฒนาและปรับปรุงระบบการเรียนการสอนทางไกลให้มีประสิทธิภาพ มีการกำหนดแผนการดำเนินการประจำปีการศึกษา 2557

 

[ √ ] 3. มีการประเมินกระบวนการ และมีการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการจากผลการเรียนการสอนทางไกล

โดย กลุ่มพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา มีการสำรวจความต้องการ การพัฒนาสื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา เพื่อให้ทราบถึงความต้องการของผู้ใช้บริการ มีการประเมินกระบวนการการเรียนการสอนทางไกล และผลการดำเนินงานประจำปีการศึกษา 2557 เพื่อนำผลมาปรับปรุงและพัฒนาให้มีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง โดยผลการดำเนินงานประจำปีการศึกษา 2557  มีดังนี้

  1. ระบบการเรียนการสอนออนไลน์ (e-Learning) มีรายวิชาที่ผลิตเสร็จสมบูรณ์
    จำนวน 32 รายวิชา แบ่งตามคณะต่างๆ ได้ดังนี้

    1. คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ จำนวน 12 วิขา
    2. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จำนวน 4 วิชา
    3. คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน จำนวน 4 วิชา
    4. คณะศิปลศาสตร์ จำนวน 3 วิชา
    5. คณะวิศวกรรมศาสตร์ จำนวน 3 วิชา
    6. คณะบริหารธุรกิจ จำนวน 3 วิชา
    7. คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม จำนวน 1 วิชา
    8. คณะอุตสาหกรรมสื่งทอและออกแบบแฟชั่น จำนวน 1 วิชา
    9. สถาบันภาษาและนวัตกรรมการเรียนรู้ จำนวน 1 วิชา
  2. การเรียนการสอน Video on Demand มีรายวิชาที่ผลิตเสร็จสมบูรณ์ จำนวน 4 วิชา
    1. หลักการตลาด จำนวน 17 ตอน
    2. อาหารจานด่วนเพื่อสุขภาพ 9 ตอน
    3. ขนมไทย 9 ตอน
    4. ก้าวไกลกับสถาบัยวิจัยและพัฒนา 8 ตอน
  3. ความพึงพอใจระบบการเรียนการสอนออนไลน์ (e-Learning) มีค่าความเฉลี่ย 4.49 อยู่ในระดับ มาก
  4. ความพึงพอใจระบบการเรียนการสอน Video on Demand ม่ค่าความเฉลี่ย 4.36 อยู่ในระดับ มาก
[ √ ] 4. มีผลจากการปรับปรุงเห็นชัดเจนเป็นรูปธรรมของการเรียนการสอนทางไกล

โดย กลุ่มพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา มีการพัฒนา/ปรับปรุงระบบการเรียนการสอนทางไกลอย่างเป็นรูปธรรม มีการรายงานผลการปรับปรุง/แก้ไขอย่างชัดเจน มีการกำหนดระบบกลไกการมีส่วนร่วมของผู้รับริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของกลุ่ม

[ √ ] 5. มีแนวปฏิบัติที่ดีด้านการการเรียนการสอนทางไกล โดยมีหลักฐานเชิงประจักษ์ยืนยัน สามารถให้เหตุผลอธิบายการเป็นแนวปฏิบัติที่ดีได้ชัดเจน

โดย กลุ่มพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา จัดทำแนวปฎิบัติที่ดีด้านการเรียรการสอนทางไกล เรื่องการทำสตริ่มมิ่ง (Streaming) เผยแพร่สู่สาธารณะชน

ประเมินตนเอง/การบรรลุเป้าหมาย

ค่าเป้าหมาย
(ข้อ)
12 เดือน
(1 ส.ค. 57-31 ก.ค. 58)
การบรรลุเป้าหมาย 12 เดือน
[ ] [ ] [√]
ผล คะแนน ต่ำกว่าเป้าหมาย เท่ากับเป้าหมาย สูงกว่าเป้าหมาย
4  5  5

รายการหลักฐาน

1. มีระบบ และกลไก ด้านการเรียนการสอนทางไกล

สวท.1.4-1-1 ระบบและกลไกด้านการเรียการสอนทางไกล

2. มีการนำระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงานด้านการเรียนการสอนทางไกล

สวท.1.4-2-1 แต่งตั้งคณะกรรมการสนับสนุนการเรียนรู้ด้านการเรียนการสอนทางไกล

สวท.1.4-2-2 แผนการดำเนินงานประจำปีการศึกษา 2557 ของกลุ่มพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา

สวท.1.4-2-3 รายงานการประชุมการวางแผนการดำเนินงานด้านการเรียนการสอนทางไกล

สวท.1.4-2-4 ภาพการประชุมการวางแผนการดำเนินงานด้านการเรียนการสอนทางไกล

3. มีการประเมินกระบวนการ และมีการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการจากผลการเรียนการสอนทางไกล

สวท.1.4-3-1 แบบสำรวจความต้องการ การพัฒนาผลิตสื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา

สวท.1.4-3-2 ผลสำรวจความต้องการ การพัฒนาผลิตสื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา

สวท.1.4-3-3 รายงานการประชุมผลการสำรวจความต้องการ การพัฒนาผลิตสื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา

สวท.1.4-3-4 ภาพการประชุมผลการสำรวจความต้องการ การพัฒนาผลิตสื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา

สวท.1.4-3-5 หนังสือประชาสัมพันธ์คณาจารย์เข้าใช้ระบบการเรียนการสอนออนไลน์ปีการศึกษา 2557

สวท.1.4-3-6 แบบฟอร์มขอเปิดรายวิชาในระบบจัดการเรียนการสอนออนไลน์ (LMS) แก้ไข 25/08/58

สวท.1.4-3-7 สื่อการเรียนการสอนออนไลน์ (e-Learning) ที่ผลิตเสร็จสมบูรณ์ในปีการศึกษา 2557

สวท.1.4-3-8 สื่อการเรียนการสอนมัลติมีเดีย (CAI) ที่ผลิตเสร็จสมบูรณ์ในปีการศึกษา 2557

สวท.1.4-3-9 รายงานรายวิชาที่มีจำนวนกิจกรรมมากที่สุด 5 อันดับ

สวท.1.4-3-10 รายงานจำนวนครั้งของการเข้าใช้สื่อการเรียนการสอนออนไลน์ (e-Learning)

สวท.1.4-3-11  สื่อ Video on Demand ที่ผลิตเสร็จสมบูรณ์ในปีการศึกษา 2557 แก้ไข 25/08/58

สวท.1.4-3-12 รายงานจำนวนครั้งของการเข้าใช้สื่อ Video on Demand

สวท.1.4-3-13 แบบประเมินความพึงพอใจการผลิตสื่อการเรียนการสอนออนไลน์ (e-Learning) แก้ไข 25/08/58

สวท.1.4-3-14 สรุปผลการประเมินความพึงพอใจการผลิตสื่อการเรียนการสอนออนไลน์ (e-Learning) แก้ไข 25/08/58

สวท.1.4-3-15 แบบประเมินความพึงพอใจสื่อ Video on Demand

สวท.1.4-3-16 สรุปผลการประเมินความพึงพอใจสื่อ Video on Demand

4. มีผลจากการปรับปรุงเห็นชัดเจนเป็นรูปธรรมของการเรียนการสอนทางไกล

สวท.1.4-4-1 ผลการปรับปรุงและแกไขการผลิตสื่อการเรียนการสอนทางไกล 

สวท.1.4-4-2 รายงานการประชุมผลการดำเนินงานประจำปีการศึกษา 2557

สวท.1.4-4-3 ภาพการประชุมผลการดำเนินงานประจำปีการศึกษา 2557

สวท.1.4-4-4 ระบบกลไกการมีส่วนร่วมของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

5. มีแนวปฏิบัติที่ดีด้านการการเรียนการสอนทางไกล โดยมีหลักฐานเชิงประจักษ์ยืนยัน สามารถให้เหตุผลอธิบายการเป็นแนวปฏิบัติที่ดีได้ชัดเจน

สวท.1.4-5-1 แนวปฎิบัติที่ดีด้านการเรียนการสอนทางไกล

จุดเด่น
1. ความพร้อมด้านสถานที่และอุปกรณ์ในการผลิตสื่อ e-Learning และดูแลการใช้งานระบบ e-Learning
2. มีบุคลากรที่สามารถให้คำแนะนำและให้ความรู้ในการผลิตสื่อ e-Learning แก่อาจารย์ได้
3. มีความพร้อมทางด้านสถานที่และอุปกรณ์ในการผลิตสื่อ Video on Demand
4. มีเว็บไซต์ที่สามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูลสื่อในรูปแบบ Video On Demand ได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว

จุดที่ควรพัฒนา
1. จัดอบรมให้ความรู้แก่อาจารย์เพื่อผลิตสื่ออิเล็กทรอนิกส์แบบ e-Learning
2. มหาวิทยาลัยควรมีงบประมาณในการสนับสนุนให้แก่อาจารย์ที่เข้าร่วมโครงการผลิตสื่ออิเล็กทรอนิกส์
3. ควรมีการจัดสรรงบประมาณสนับสนุนในการให้บริการแก่ชุมชนและสังคมให้มากขึ้น

 

ผู้รับผิดชอบ ชื่อ ตำแหน่ง
ผู้กำกับตัวบ่งชี้  น.ส.เพชราภรณ์ เพ็ชรแก้ว  รอง ผอ.สวท.
ผู้จัดเก็บข้อมูล/รายงาน  น.ส รักอนงค์ ชมปรีดา  นักเอกสารสนเทศ