2558 IQA 2.3 สวส.

ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 การจัดการความรู้ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ

ชนิดของตัวบ่งชี้ : กระบวนการ

เกณฑ์การประเมิน  :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ประเด็น มีการดำเนินการ 2 ประเด็น มีการดำเนินการ 3 ประเด็น มีการดำเนินการ 4 ประเด็น มีการดำเนินการ 5 ประเด็น

เกณฑ์มาตรฐาน : ข้อ

ผลการดำเนินงาน : ในปีการศึกษา 2558 มีผลการดำเนินงาน ดังนี้

[√] 1. มีการแบ่งปันและแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากความรู้ ทักษะของผู้มีประสบการณ์ตรง  (tacit  knowledge) เกี่ยวกับงานที่ปฏิบัติตามภารกิจ และเผยแพร่ไปสู่บุคลากรในกลุ่ม

จัดการประชุมเพื่อให้บุคลากรภายในสำนักวิทยบริการฯ ได้นำเสนอองค์ความรู้ (KM) ตามประเด็นที่กำหนดไว้และตามภารกิจที่กำหนดเพื่อแบ่งปันและแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากความรู้ที่ได้นำเสนอของและล่ะคนภายในสำนักวิทยบริการฯ เพื่อนำความรู้ที่ได้นั้นไปพัฒนาและปรับใช้ในภารกิจของหน่วยงานต่อไป

[√] 2. มีการรวบรวมความรู้ ทั้งที่มีอยู่ในตัวบุคคลและแหล่งเรียนรู้อื่นๆ ที่เป็นแนวปฏิบัติที่ดีมาพัฒนาและจัดเก็บอย่างเป็นระบบ โดยเผยแพร่ออกมาเป็นลายลักษณ์อักษร (มีทะเบียนความรู้อย่างน้อย 10 เรื่องต่อปี)

โดย มีการแบ่งปันและแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากความรู้ ทักษะของผู้มีประสบการณ์ตรงเกี่ยวกับงานที่ปฏิบัติตามภารกิจเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างบุคลากรภายในสำนักวิทยบริการฯ และเผยแพร่ออกเป็นลายลักษณ์อักษร ทั้งหมด 77 เรื่อง

[√] 3. มีการนำความรู้ที่ได้จากการจัดการความรู้ และจากความรู้ ทักษะของผู้มีประสบการณ์ตรง มาทำเป็นแนวปฏิบัติที่ดี (Best Practice) นำไปสู่การปฏิบัติงานตามภารกิจของสำนัก อย่างน้อยปีละ 1 เรื่อง

โดยมีการนำความรู้ที่ได้จากการจัดการความรู้ และจากความรู้ ทักษะของผู้มีประสบการณ์ตรง มาทำเป็นแนวปฏิบัติที่ดี มีการคัดเลือกความรู้ที่มีประโยชน์ต่อบุคลากรและบุคคลภายนอกเอามาเป็นแนวทางการปฏิบัติที่ดี

[√]] 4. มีการเผยแพร่ทะเบียนความรู้ และแนวปฏิบัติที่ดี ผ่านระบบ ICT หน้าเว็ปไซต์ของกลุ่มอย่างต่อเนื่องทุกปี

มีการรวบรวมความรู้เป็นทะเบียนความรู้เกี่ยวกับประสบการณ์งานที่ทำจากบุคคล และมีแนวปฏิบัติที่ดีเผยแผร่ทางเว็ปไซต์ เพื่อให้ผู้ที่สนใจสามารถเข้าศึกษาหรือหาความรู้เพิ่มเติมได้

[√] 5. มีการประเมินผลการจัดการความรู้ ที่แสดงปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน ข้อเสนอแนะแนวทางในการพัฒนาปรับปรุง

มีการประเมินผลการจัดการความรู้จากบุคลากรในสำนักวิทยบริการ ฯ พร้อมกับรายงานปัญหา อุปสรรค พร้อมข้อเสนอแนะเพื่อเป็นแนวทางปรับปรุงกระบวนการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพผ่านทางเว็ปไซต์ของหน่วยงาน

ประเมินตนเอง/การบรรลุเป้าหมาย

ค่าเป้าหมาย
(ข้อ)
12 เดือน
(1 ส.ค. 58-31 ก.ค. 59)
การบรรลุเป้าหมาย 12 เดือน
[ ] [√] [ ]
ผล คะแนน ต่ำกว่าเป้าหมาย เท่ากับเป้าหมาย สูงกว่าเป้าหมาย
5            5              5

รายการหลักฐาน

1. มีการแบ่งปันและแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากความรู้ ทักษะของผู้มีประสบการณ์ตรง (tacit knowledge) เกี่ยวกับงำนที่ปฏิบัติตามภารกิจ และเผยแพร่ไปสู่บุคลำกรในกลุ่ม

สวส.2.3-1-1 แผนการจัดการความรู้ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
สวส.2.3-1-2 บันทึกข้อความแจ้งให้บุคคลากรเข้าร่วมอบรมการอบรมการดูแลรักษาและซ่อมคอมพิวเตอร์สำนักงาน โดยมีบุคลากรของสำนักวิทยฯ ทีมีประสบการณ์ตรง มาถ่ายทอดและแบ่งบันความรู้ให้กับบุคลากรภายในหน่วยงาน
สวส.2.3-1-3 รูปภาพกิจกรรมการแบ่งปันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของบุคลากรภายในกลุ่มเทคโนโลยีสารสนเทศ
สวส.2.3-1-4 คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการจัดการความรู้ในองค์กร (KM) ในกลุ่มวิทยบริการ
สวส.2.3-1-5 ภาพกิจกรรมการแบ่งปันและแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากผู้มีทักษะและประสบการณ์ตรงภายในกลุ่มวิทยบริการ
สวส.2.3-1-6 ภาพกิจการแบ่งปันและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การสำรวจทรัพยากรสารสนเทศ แบบ Offline (Inventory Module)
สวส. 2.3-1-5 คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการจัดการความรู้ในองค์กร (KM) ในสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ

2. มีการรวบรวมความรู้ ทั้งที่มีอยู่ในตัวบุคคลและแหล่งเรียนรู้อื่นๆ ที่เป็นแนวปฏิบัติที่ดีมาพัฒนาและจัดเก็บอย่างเป็นระบบ โดยเผยแพร่ออกมาเป็นลายลักษณ์อักษร (มีทะเบียนความรู้อย่างน้อย 10 เรื่องต่อปี)

สวส.2.3-2-1 การทำแผ่นพับในโปรแกรม Microsoft Word 2010/2013

สวส.2.3-2-2 ตั้งค่า Folder (Default local File Location) บันทึกไฟล์ Word 2013

สวส.2.3-2-3 การทำภาพเคลื่อนไหวในโปรแกรม Microsoft PowerPoint

สวส.2.3-2-4 วิธีใส่เลขหน้า Microsoft Word แบบกําหนดหน้าที่เริ่มต้นเอง

สวส.2.3-2-5 การใช้ปุ่มลัดโปรแกรม Microsoft Word

สวส.2.3-2-6 การส่งหนังสือราชการผ่านระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์

สวส.2.3-2-7 ขั้นตอนการทำบัตรประกันสังคม

สวส.2.3-2-8 การจัดซื้อพัสดุด้วยวิธีการตลาดอิเล็กทรอนิกส์

สวส.2.3-2-9 การใช้งานแชร์โฟล์เดอร์ใน Dropbox

สวส.2.3-2-10 e-bidding

สวส.2.3-2-11 วิธีการเช็คและกำจัด virus malware ในเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วยโปรแกรม windows malicious

สวส.2.3-2-12 แก้ปัญหาปุ่ม Start menu, Search Windows, Speakers หรืออื่นๆ ใน Windows 10 ไม่ทำงาน

สวส.2.3-2-13 วิธีตั้งค่าใช้งานโปรแกรม Pulse secure สำหรับลงชื่อเข้าใช้งาน Internet

สวส.2.3-2-14 วิธีเปิดการใช้งาน Administrator Account บน Windows 10

สวส.2.3-2-15 How to install snare agent for linux

สวส.2.3-2-16 วิธีการติดตั้ง Ubuntu Server 14.04.1 LTS เพื่อนำไปพัฒนาในงานสารสนเทศ ภายในองค์กรของท่าน

สวส.2.3-2-17 วิธีการแปลงไฟล์จาก CD/DVD ไปเป็น ISO ด้วยโปรแกรม Fotmat factory

สวส.2.3-2-18 วิธีการสร้าง User และ Password สำหรับ Login เข้าไปบริหารจัดการ ESXi ผ่านโปรแกรม Sphere Client

สวส.2.3-2-19 ทำทีมวิวให้เชื่อมต่อแบบ local ภายใน

สวส.2.3-2-20 Use xRDP access Ubuntu desktop from Windows

สวส.2.3-2-21 เครื่องคอมพิวเตอร์ Restart ตลอด

สวส.2.3-2-22 วิธีการทำ UEFI USB bootable flashdrive สำหรับลง windows ด้วยโปรแกรม Rufus 2.9

สวส.2.3-2-23 ขั้นตอนการใช้งานโปรแกรม CPU-Z

สวส.2.3-2-24 วิธีการใช้โปรแกรมแอนตี้ไวรัส windows defender บน win10

สวส.2.3-2-25 Clear stack Alcatel OmniStack LS 6224

สวส.2.3-2-26 วิธีลบโปรแกรม Line PC และเทคนิคเมื่อไม่สามารถลบโปรแกรมได้

สวส.2.3-2-27 วิธีการสร้างระบบรักษาความปลอดภัยมากขึ้นใน Flash Drive หรือ Removable Disk

สวส.2.3-2-28 วิธีแก้ปัญหาเบื้องต้นเมื่อคีย์บอร์ดเกิดอาการตอบสนองช้ากว่าปกติ (หน่วง,ดีเลย์)

สวส.2.3-2-29 วิธีต่ออายุ Certification Authority (CA) ของ Let’s Encrypt

สวส.2.3-2-30 การกำหนดค่า default app (ค่าเริ่มต้นในการเปิดโปรแกรมต่างๆ) Windows 10

สวส.2.3-2-31 วิธีการใช้เครื่องฟูจิตสึสแกนเนอร์

สวส.2.3-2-32 ท้องถิ่นศึกษา : จากปูมสู่ภูมิ

สวส.2.3-2-33 โบว์ชัวร์การยืมต่อ Renew Online

สวส.2.3-2-34 วิธีสืบค้นฐานข้อมูล Scopus

สวส.2.3-2-35 วิธียืมต่อด้วยตนเองในระบบออนไลน์

สวส.2.3-2-36 แนะนำ link ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ

สวส.2.3-2-37 การใช้โปรแกรม Microsoft Publisher ในการพิมพ์รูปที่มีขนาดใหญ่

สวส.2.3-2-38 วิธีสร้าง QR-Code เว็บไซต์ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ

สวส.2.3-2-39 สหบรรณานุกรมห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาไทย

สวส.2.3-2-40 การสืบค้นฐานข้อมูล EBSCOhost

สวส.2.3-2-41 การเย็บเล่มวารสารในระบบห้องสมุดอัตโนมัติ

สวส.2.3-2-42 เทคนิคการสืบค้นฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์

สวส.2.3-2-43 รายงานทรัพยากรแยกตามกลุ่มเลขเรียก

สวส.2.3-2-44 วิธีการยืมทรัพยากรห้องสมุดข้ามสาขา

สวส.2.3-2-45 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อวิดีโอ

สวส.2.3-2-46 การนำวิดีโอไปใช้ และลักษณะการทำงานของวิดีโอ

สวส.2.3-2-47 มาตรฐานการเผยแพร่ภาพวิดีโอ

สวส.2.3-2-48 การผสมผสานระหว่างคอมพิวเตอร์และโทรทัศน์

สวส.2.3-2-49 การผลิตวิดีโอ

สวส.2.3-2-50 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสื่อมัลติมีเดีย

สวส.2.3-2-51 คุณภาพของระบบโทรทัศน์สีในระบบต่างๆ

สวส.2.3-2-52 Digital Television

สวส.2.3-2-53 คุณสมบัติของไฟล์วิดีโอ และภาพยนตร์

สวส.2.3-2-54 องค์ประกอบของโปรแกรม – Menu Bar (1)

สวส.2.3-2-55 องค์ประกอบของโปรแกรม – Menu Bar (2)

สวส.2.3-2-56 องค์ประกอบของโปรแกรม – Menu Bar (3)

สวส.2.3-2-57 องค์ประกอบของโปรแกรม – Menu Bar (4)

สวส.2.3-2-58 องค์ประกอบของโปรแกรม – Step Panel

สวส.2.3-2-59 องค์ประกอบของโปรแกรม – Player Panel

สวส.2.3-2-60 องค์ประกอบของโปรแกรม – Library Panel

สวส.2.3-2-61 องค์ประกอบของโปรแกรม – Timeline Panel

สวส.2.3-2-62 การนำไฟล์เข้าสู่โปรแกรม

สวส.2.3-2-63 การตัดต่อวิดีโอ

สวส.2.3-2-64 การตัดต่อวิดีโอ (ต่อ)

สวส.2.3-2-65 การตัดต่อวิดีโอ (ต่อ)

สวส.2.3-2-66 การตัดต่อวิดีโอ (ต่อ)

สวส.2.3-2-67 การใส่และลบ Transition

สวส.2.3-2-68 แนะนำ JQUERY PLUGIN THAILAND PROVINCE SET V.1.0

สวส.2.3-2-69 CSS : MARGIN AND PADDING

สวส.2.3-2-70 วิธีลบข้อมูลซ้ำอย่างรวดเร็วภายใน EXCEL

สวส.2.3-2-71 PHOTOSHOP : การลบพื้นหลังออกจากภาพให้เป็นธรรมชาติ

สวส.2.3-2-72 การใช้ CSS3 @FONT-FACE RULE เพื่อนำฟอนต์ประจำมหาวิทยาลัยมาแสดงบนเว็บไซต์

สวส.2.3-2-73 การสร้าง STORE PROCEDURE ใน MS SQL SERVER และเขียนโค้ดใช้งานด้วย ASP.NET C#

สวส.2.3-2-74 วิธีการใช้ NODE.JS และ GIT เพื่อทำการติดตั้ง BOWER, TYPESCRIPT, TSD และใช้ BOWER ติดตั้ง BOOTSTRAP, ANGULARJS

สวส.2.3-2-75 ขั้นตอนการนำ ANDROID APPLICATION ที่พัฒนาขึ้นบน PLAY STORE

สวส.2.3-2-76 BEST PRACTICE 2558 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารอาคารสถานที่ ผู้นำเสนอ ผศ.นิวัตร จารุวาระกูล น.ส.เพชราภรณ์ เพ็ชรแก้ว และนายสมโภชน์ กุลธารารมณ์

สวส.2.3-2-77 ATOM/EMMET BUG

3. มีการนำความรู้ที่ได้จากการจัดการความรู้ และจากความรู้ ทักษะของผู้มีประสบการณ์ตรง มาทำเป็นแนวปฏิบัติที่ดี (Best Practice) นำไปสู่การปฏิบัติงานตามภารกิจของกลุ่ม อย่างน้อยปีละ 1 เรื่อง

สวส.2.3-3-1 แนวปฏิบัติที่ดี เรื่องการใช้ระบบปฏิทินการประชุม/สัมมนา
สวส.2.3-3-2 แนวปฏิบัติที่ดี เรื่อง ระบบบริหารชมรม
สวส.2.3-3-3 แนวปฏิบัติที่ดีเรื่องการติดตั้งระบบคลังปัญญา DSpace บนระบบปฏิบัติการลินุกซ์
สวส.2.3-3-4 แนวปฏิบัติที่ดี เรื่อง ระบบคลังปัญญา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
สวส.2.3-3-5 ภาพประกอบการเป็นวิทยากรบรรยายเผยแพร่ความรู้ พร้อมภาพแสดงความต้องการของผู้เข้าร่วมอบรม
สวส.2.3-3-6 แนวปฎิบัติที่ดี เรื่อง การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ห้องเรียนอัจฉริยะ (Smart Classroom) 

4. มีการเผยแพร่ทะเบียนความรู้ และแนวปฏิบัติที่ดี ผ่านระบบ ICT หน้าเว็ปไซต์ของกลุ่มอย่างต่อเนื่องทุกปี

สวส.2.3-4-1 เว็บไซต์การจัดการความรู้ สำนักงานผู้อำนวยการ
สวส.2.3-4-2 เว็บไซต์การจัดการความรู้ กลุ่มเทคโนโลยีสารสนเทศ
สวส.2.3-4-3 เว็ปไซต์การจัดการความรู้ กลุ่มเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสาร
สวส.2.3-4-4 เว็ปไซต์การจัดการความรู้ กลุ่มวิทยบริการ
สวส.2.3-4-5 เว็ปไซต์การจัดการความรู้ กลุ่มนวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา

5. มีการประเมินผลการจัดการความรู้ ที่แสดงปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน ข้อเสนอแนะแนวทางในการพัฒนาปรับปรุง

สวส.2.3-5-1  สรุปผลการประเมินการจัดการความรู้ในองค์กร  ปัญหา อุปสรรคในการดำเนินงาน และข้อเสนอในการพัฒนาปรับปรุง ปี 2558
สวส.2.3-5-2 สรุปผลการประเมินประสิทธิผลแผนการจัดการความรู้ ปี 2558
สวส.2.3-5-3 
สรุปผลการประเมินประสิทธิผลแผนการจัดการความรู้ ปี 2558 สำนักงานผู้อำนวยการ
สวส.2.3-5-4 สรุปผลการประเมินประสิทธิผลแผนการจัดการความรู้ ปี 2558 กลุ่มเทคโนโลยีสารสนเทศ
สวส.2.3-5-5 สรุปผลการประเมินการจัดการความรู้ในองค์กร ปี 2558 กลุ่มเทคโนโลยีสารสนเทศ
สวส.2.3-5-6 รายงานสรุปผลการประเมินประสิทธิผลแผนการจัดการความรู้ ปี 2558 กลุ่มวิทยบริการ
สวส.2.3-5-7 รายงานสรุปผลการประเมินการจัดการความรู้ในองค์กร ปี 2558 กลุ่มวิทยบริการ
สวส.2.3-5-8 สรุปผลการประเมินประสิทธิผลแผนการจัดการความรู้ ปี 2558 กลุ่มเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสาร 
สวส.2.3-5-9 การประเมินผลกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (KM) เรื่อง การใช้โปรแกรมตัดต่อวิดีโอ Corel Video Studio Pro X5 เบื้องต้น

จุดเด่น
1. มีผู้เชี่ยวชาญและมีประสบการณ์เกี่ยวกับงานที่ปฎิบัติพร้อมที่จะถ่ายทอดความรู้
2. มีระบบ ICT สนับสนุนการจัดเก็บทะเบียนความรู้ของตนเอง
3. มีการเรียนรู้เทคโนโลยีใหม่ๆอยู่เสมอๆ
4. ผู้บริหารให้การสนับสนุนและส่งเสริม

จุดที่ควรพัฒนา
1. การผลักดันให้เกิดการถ่ายทอดความรู้เป็นลายลักษณ์อักษรอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ
2. แรงจูงใจภายในสำนักการจัดทำ KM
3. ทักษะทางด้านภาษาของบุคลากร
4. ทักษะทางด้านการประสานงานและติดต่อสื่อสาร

 

ผู้รับผิดชอบ ชื่อ ตำแหน่ง
ผู้กำกับตัวบ่งชี้  นายธนาวุฒิ นิลมณี ผอ.สวส.
ผู้จัดเก็บข้อมูล/รายงาน น.ส.เพชราภรณ์  เพ็ชรแก้ว รอง ผอ.สวส.